Page 70 -
P. 70

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์




                  68                         Thai J. For. 31 (3) : 65-74 (2013)



                  โดยใช้สูตรของสุบงกช  (2526)  และเก็บตัวอย่างใน          ง. การวัดระดับความเห็นของนัก

                  ช่วงวันสุดสัปดาห์  (วันเสาร์และวันอาทิตย์  วันหยุด  ท่องเที่ยวในการจัดการพื้นที่กางเต็นท์  มีเกณฑ์การให้
                  นักขัตฤกษ์)  และช่วงวันท�าการ  (วันจันทร์ - วันศุกร์)    คะแนน  ระดับ  1 - 4  คือ  ต้องปรับปรุง  เหมาะสมน้อย
                  ในสัดส่วน  80  :  20  ได้จ�านวนดังนี้  บริเวณที่ท�าการ  เหมาะสมปานกลาง  เหมาะสมดี
                  อุทยานแห่งชาติ  185  คน  (148:  37)  บ้านกร่าง  99  คน         2.6  สรุปผลการประเมินช่วงชั้นโอกาส

                  (79:20)  พะเนินทุ่ง  106  คน  (85:21)        ด้านนันทนาการ  ทั้ง  3  ด้าน  คือ  ด้านกายภาพ  ด้านการ
                           2.3  ออกแบบแบบสอบถาม ซึ่งมีทั้งหมด    จัดการและด้านสังคม  เพื่อจ�าแนกพื้นที่กางเต็นท์ว่าอยู่
                  4 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลภูมิหลังของนักท่องเที่ยว    ในช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการแบบใด
                  ตอนที่  2  ลักษณะทั่วไปในการเดินทางและรูปแบบ
                  ด้านนันทนาการ ตอนที่ 3 ประสบการณ์ด้านนันทนาการ  ข้อเสนอแนะในการจัดการพื้นที่กางเต็นท์ใน
                  ที่นักท่องเที่ยวคาดหวังที่จะได้รับและได้รับจริงจาก  อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน

                  การประกอบกิจกรรมกางเต็นท์พักแรม  และตอนที่  4       วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามนักท่องเที่ยว
                  ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการพื้นที่กางเต็นท์  ประกอบกับผลการจ�าแนก ROS เพื่อน�าไปเป็นแนวทาง
                           2.4  จากนั้นน�าแบบสอบถามไปทดสอบ     การจัดการพื้นที่กางเต็นท์เป็นไปตามประสบการณ์
                  (pretest) จ�านวน 30 ชุด น�าผลที่ได้มาตรวจสอบคุณภาพ  นันทนาการที่ควรได้รับจากความคาดหวังของนักท่องเที่ยว
                  ของเครื่องมือด้วยวิธีการของ Cronbach’s เพื่อทดสอบ  และเป็นไปตามหลักของการจัดการอุทยานแห่งชาติ

                  หาค่าความเชื่อมั่น  (reliability)  ของค�าถาม  (วัฒนา,
                  2547)  จากการวิเคราะห์ได้เท่ากับ  0.7  แล้วน�าไปเก็บ     ผลและวิจารณ์
                  ข้อมูลในพื้นที่
                           2.5  วิเคราะห์ข้อมูล                ปัจจัยและเกณฑ์ในการก�าหนดช่วงชั้นโอกาสด้าน
                             ก. โดยใช้สถิติพรรณนา  (descriptive    นันทนาการส�าหรับพื้นที่กางเต็นท์ในอุทยานแห่ง
                  analysis)                                    ชาติ

                             ข. การวิเคราะห์หาช่วงชั้นโอกาสด้าน       จากการสุ่มแบบเรียกชื่อ มีผู้เชี่ยวชาญ/ผู้ทรง
                  นันทนาการจากแบบสอบถาม จากการวัดประสบการณ์    คุณวุฒิ  จ�านวน  9  ท่าน  ให้ข้อเสนอแนะพิจารณาความ
                  ที่นักท่องเที่ยวคาดหวังจะได้รับและได้รับจริง  โดยมี  เหมาะสมและให้คะแนนค่าถ่วงน�้าหนัก  (W)  ระดับ
                  ค่าคะแนน 1 - 4 โดยค่าคะแนน 1 สะท้อนถึงประสบการณ์  1 - 4  (ความส�าคัญน้อยที่สุด - ความส�าคัญมากที่สุด)

                  ที่คาดหวังได้รับ/ได้รับจริงในพื้นที่กางเต็นท์ธรรมชาติ  ดังนี้ ด้านกายภาพ 1) ความยากง่ายในการเข้าถึง 3.67,
                  ที่มีการพัฒนามาก  ไปถึง  ค่าคะแนน  4  สะท้อนถึง  2)  ประเภทพาหนะ  3.33  และ  3)  ความเป็นธรรมชาติ
                  ประสบการณ์ที่คาดหวังได้รับ/ได้รับจริงในพื้นที่กาง  ของพื้นที่ 4.00 ด้านการจัดการ 1) ขนาดพื้นที่ที่มีการพัฒนา
                  เต็นท์แบบสันโดษ จากนั้นจึงน�าค่าเฉลี่ยไปเปรียบเทียบ  สิ่งอ�านวยความสะดวก  3.57,  2)  ระดับความเข้มข้นใน
                  กับค่าคะแนนที่ได้จากการจัดกลุ่ม  เพื่อระบุช่วงชั้น  การพัฒนาสิ่งอ�านวยความสะดวก 3.22, 3)  วัตถุประสงค์
                             ค. เปรียบเทียบช่วงชั้นโอกาสด้าน   ของการพัฒนาสิ่งอ�านวยความสะดวก 3.38, 4) การจัดการ

                  นันทนาการที่นักท่องเที่ยวที่ได้รับจริงและคาดหวังจะ  ขยะในพื้นที่กางเต็นท์  2.50,  5)  ระบบสื่อความหมาย
                  ได้รับจากพื้นที่กางเต็นท์แต่ละแห่ง  โดยใช้สถิติ  t-test    ในพื้นที่กางเต็นท์  3.25  และ  6)  ระดับการควบคุม
                  ก�าหนดระดับนัยส�าคัญทางสถิติที่  0.05        นักท่องเที่ยว  การใช้กฎระเบียบ  และการตรวจตราของ
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75