Page 73 -
P. 73

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์




                                           วารสารวนศาสตร 31 (3) : 65-74 (2556)                      71
                                                           ์


                  ทั้ง  3  แห่ง  พบว่า  มีค่าเฉลี่ยของประสบการณ์ที่นัก  ที่นักท่องเที่ยวคาดหวังที่จะได้รับจากการประกอบ

                  ท่องเที่ยวคาดหวังที่จะได้รับ  เท่ากับ  3.11  3.12  และ    กิจกรรมกางเต็นท์พักแรมเฉลี่ยเท่ากับ    3.12    และ
                  3.12 ตามล�าดับ ซึ่งสะท้อนประสบการณ์ที่นักท่องเที่ยว  ประสบการณ์นันทนาการที่นักท่องเที่ยวได้รับจริงจาก
                  คาดหวังจะได้รับจากการกางเต็นท์พักแรมในพื้นที่  การประกอบกิจกรรมกางเต็นท์พักแรมเฉลี่ยเท่ากับ
                  กางเต็นท์กึ่งสันโดษ  และค่าเฉลี่ยของประสบการณ์ที่  3.03 สรุปได้ว่า ประสบการณ์นันทนาการที่นักท่องเที่ยว

                  นักท่องเที่ยวได้รับจริง  เท่ากับ  3.08  3.06  และ  3.03    คาดหวังและที่ได้รับจริงจากการประกอบกิจกรรม
                  ตามล�าดับ  ซึ่งสะท้อนประสบการณ์ที่นักท่องเที่ยวได้  กางเต็นท์มีความแตกต่างกัน  แม้จะจัดอยู่ในช่วงชั้นแบบ
                  รับจริงจากการกางเต็นท์พักแรมในพื้นที่กางเต็นท์กึ่ง  พื้นที่กางเต้นท์กึ่งสันโดษเดียวกัน
                  สันโดษ                                                    เมื่อน�าผลจากการจ�าแนกช่วงชั้นโอกาส
                               ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่านัก     ด้านนันทนาการที่ใช้ปัจจัยด้านกายภาพ    การจัดการ
                  ท่องเที่ยวที่มาประกอบกิจกรรมกางเต็นท์พักแรมใน  และด้านสังคม มาวิเคราะห์ร่วมกันเพื่อหาช่วงชั้นโอกาส

                  พื้นที่กางเต็นท์ทั้ง  3  แห่งนั้น  ก่อนที่จะได้ประกอบ  ด้านนันทนาการที่เหมาะสมกับพื้นที่กางเต็นท์ใน
                  กิจกรรมกางเต็นท์พักแรมนักท่องเที่ยวได้คาดหวังที่  อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน สรุปได้ว่า พื้นที่กางเต็นท์
                  จะได้รับประสบการณ์  การได้ใกล้ชิดกับความเป็น  ทั้ง  3  แห่ง  เหมาะสมกับช่วงชั้นแบบพื้นที่กางเต็นท์
                  ธรรมชาติ  ความเงียบสงบ  สันโดษ  ได้พึ่งพาตนเอง  กึ่งสันโดษ
                  ในระดับที่มาก  ต้องการความเป็นอิสระจากการควบคุม        ตอนที่  4  ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการ

                  ของเจ้าหน้าที่  แต่ขณะเดียวกันยังต้องการความรู้สึก  พื้นที่กางเต็นท์
                  สะดวกในการเข้าถึง  และความสะดวกสบายโดยรวม                 ความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวเกี่ยวกับ
                  ในพื้นที่  พร้อมทั้งต้องการพบปะนักท่องเที่ยวกลุ่มอื่น  การจัดการด้านกายภาพ  ด้านการพัฒนาสิ่งอ�านวยความ
                  ด้วยเช่นกัน  ซึ่งเป็นประสบการณ์ที่นักท่องเที่ยวจะได้รับ  สะดวก  และการจัดการนักท่องเที่ยว  เห็นว่ามีความ
                  จากการกางเต็นท์ในพื้นที่กางเต็นท์กึ่งสันโดษ  และ  เหมาะสมปานกลาง  แต่มีบางปัจจัยที่ต้องปรับปรุง  คือ
                  เมื่อได้มาประกอบกิจกรรมกางเต็นท์พักแรมในพื้นที่  การเพิ่มร่มเงา  ต้นไม้ใหญ่ในพื้นที่  การควบคุมความ

                  จริงแล้ว  นักท่องเที่ยวยังได้รับประสบการณ์ตามที่ได้  แออัดของปริมาณนักท่องเที่ยว
                  คาดหวังไว้
                               ผลการทดสอบความแตกต่างของ        แนวทางการจัดการพื้นที่กางเต็นท์ตามช่วงชั้น
                  ประสบการณ์นันทนาการที่คาดหวังและที่ได้รับจริง  โอกาสด้านนันทนาการ
                  โดยใช้สถิติ  t-test  ซึ่งก�าหนดระดับนัยส�าคัญทางสถิติที่       จากการจ�าแนก  ROS  ของพื้นที่กางเต็นท์ทั้ง

                  0.05  พบว่า  มีเพียงบริเวณพื้นที่กางเต็นท์พะเนินทุ่ง    3  แห่ง  ประกอบกับความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจาก
                  ที่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (t = 2.542,    นักท่องเที่ยว  นักวิจัยได้สรุปเป็นแนวทางการจัดการ
                  p-value  =  0.012)  โดยประสบการณ์นันทนาการ    พื้นที่กางเต็นท์  (Table  1)
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78