Page 69 -
P. 69
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 31 (3) : 65-74 (2556) 67
์
ให้นักท่องเที่ยวได้รับความพึงพอใจ ประสบการณ์ score equation) เพื่อจ�าแนกพื้นที่กางเต็นท์ว่าอยู่ในช่วง
ท่องเที่ยวที่มีคุณค่า อีกทั้งช่วยประชาสัมพันธ์ให้ ชั้นโอกาสแบบใด (ดรรชนี และคณะ, 2547) แล้วจึง
นักท่องเที่ยวสามารถเลือกพื้นที่ตรงตามความชอบ น�าค่าคะแนนที่ได้จากการค�านวณในพื้นที่กางเต็นท์
และประสบการณ์ที่พึงปรารถนา โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไข แต่ละแห่งมาจัดเข้าตามช่วงชั้น (1.00 - 1.75 คะแนน
ของสภาพพื้นที่และหลักการจัดการอุทยานแห่งชาติ จัดอยู่ในพื้นที่กางเต็นท์ธรรมชาติที่มีการพัฒนามาก
1.76 - 2.50 คะแนน จัดอยู่ในพื้นที่กางเต็นท์ธรรมชาติ
อุปกรณ์และวิธีการ พัฒนาบ้าง 2.51 - 3.25 คะแนน จัดอยู่ในพื้นที่กางเต็นท์
ศึกษาปัจจัยและเกณฑ์ในการก�าหนดช่วงชั้น กึ่งสันโดษ และ 3.26 - 4.00 คะแนน จัดอยู่ในพื้นที่
โอกาสด้านนันทนาการส�าหรับพื้นที่กางเต็นท์ กางเต็นท์แบบสันโดษ)
ในอุทยานแห่งชาติ 5. ปรับปรุงปัจจัยและเกณฑ์ให้เหมาะสม
1. รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง แล้วน�าไปประเมินในพื้นที่การศึกษาวิจัย
เช่น ข้อมูลทางวิชาการ ผังปัจจุบันแสดงพื้นที่กางเต็นท์ ประเมินช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการ (ROS)
2. ร่างปัจจัยและเกณฑ์ในการก�าหนดช่วงชั้น
โอกาสด้านนันทนาการส�าหรับพื้นที่กางเต็นท์ในอุทยาน ส�าหรับพื้นที่กางเต็นท์ในอุทยานแห่งชาติแก่ง
แห่งชาติ โดยแบ่งออกเป็น 4 ช่วงชั้น คือ พื้นที่กาง กระจาน
เต็นท์ธรรมชาติที่พัฒนามาก พื้นที่กางเต็นท์ธรรมชาติ 1. ประเมิน ROS ด้านกายภาพและด้านการ
ที่พัฒนาบ้าง พื้นที่กางเต็นท์กึ่งสันโดษ พื้นที่กางเต็นท์ จัดการ โดยผู้วิจัยท�าการส�ารวจในพื้นที่ศึกษาคือ พื้นที่
แบบสันโดษ และจ�าแนกปัจจัยการประเมินเป็น 3 ด้าน กางเต็นท์บริเวณที่ท�าการอุทยานแห่งชาติ พื้นที่กางเต็นท์
คือ ด้านกายภาพ ด้านการจัดการและด้านสังคม บริเวณบ้านกร่าง และพื้นที่กางเต็นท์บริเวณพะเนินทุ่ง
3. ก�าหนดค่าถ่วงน�้าหนัก (weighted score: W) ในอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
และเกณฑ์เพื่อให้คะแนน (rated score: R) ในแต่ละ ผู้วิจัย น�าแบบส�ารวจไปประเมินปัจจัยทาง
ปัจจัยชี้วัด และน�าร่างปัจจัยและเกณฑ์ในการก�าหนด กายภาพและการจัดการตามปัจจัยและเกณฑ์ที่ได้
ช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการส�าหรับพื้นที่กางเต็นท์ ก�าหนดขึ้นในข้อ 1. ในพื้นที่กางเต็นท์ทั้ง 3 แห่ง
ในอุทยานแห่งชาติ ให้ผู้เชี่ยวชาญ/ผู้ทรงคุณวุฒิให้ จากนั้นจึงค�านวณค่า ROS โดยใช้สมการถ่วงน�้าหนัก
ข้อเสนอแนะ โดยใช้วิธีเลือกผู้เชี่ยวชาญ/ผู้ทรงคุณวุฒิ และน�าไปเปรียบเทียบกับค่าคะแนนที่ได้จัดกลุ่มช่วงชั้น
โดยใช้วิธีการสุ่มแบบเรียกชื่อ (snowball sampling) ทั้ง 4 ช่วงชั้น ในข้อ 4
4. ปรับร่างปัจจัยและเกณฑ์ในการก�าหนด 2. ประเมิน ROS ด้านสังคม โดยประเมิน
ช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการส�าหรับพื้นที่กางเต็นท์ จากประสบการณ์นักท่องเที่ยว
ในอุทยานแห่งชาติ ตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ/ 2.1 ก�าหนดกลุ่มประชากร (population)
ผู้ทรงคุณวุฒิ และปรึกษาประธานกรรมการและกรรมการ ได้แก่ นักท่องเที่ยวชาวไทยอายุตั้งแต่ 15 ปี ขึ้นไป ที่มา
ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ พร้อมให้ผู้เชี่ยวชาญ/ผู้ทรงคุณวุฒิ ประกอบกิจกรรมกางเต็นท์พักแรม ช่วงเดือนธันวาคม
เสนอชื่อพื้นที่กางเต็นท์ที่มีประสบการณ์นันทนาการ พ.ศ. 2554 และมกราคม พ.ศ. 2555
แตกต่างกันอย่างน้อย 4 แห่ง เพื่อนักวิจัยได้น�า 2.2 ก�าหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง (sample
เครื่องมือไปทดสอบในพื้นที่กางเต็นท์ดังกล่าว เพื่อ size) โดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน (Yamane, 1973)
ปรับปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น โดยผู้วิจัยเป็น ที่ค่าความคลาดเคลื่อน 0.05 ได้จ�านวนตัวอย่าง 390
ผู้ส�ารวจและประเมิน ใช้สมการถ่วงน�้าหนัก (weighted ตัวอย่าง เก็บข้อมูลแต่ละพื้นที่ตามสัดส่วนที่เหมาะสม