Page 71 -
P. 71
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 31 (3) : 65-74 (2556) 69
์
เจ้าหน้าที่ 3.25 โดยประยุกต์การก�าหนดปัจจัยชี้วัดมา จัดการ โดยผู้วิจัยท�าการส�ารวจในพื้นที่ศึกษาผลการส�ารวจ
จากการศึกษาของ ศูนย์วิจัยป่าไม้ (2541) และดรรชนี พบว่า การจ�าแนกช่วงชั้นจากปัจจัยด้านกายภาพและ
(2543) ซึ่งประยุกต์ปัจจัยชี้วัดดังกล่าวมาจากการก�าหนด การจัดการของแต่ละพื้นที่กางเต็นท์ในอุทยานแห่งชาติ
ปัจจัยชี้วัดของ Clark and Stankey (1979) นักวิจัย แก่งกระจานในสภาวะปัจจุบัน จัดอยู่ใน 3 ช่วงชั้น คือ
ได้ปรับปรุงให้เหมาะสมกับพื้นที่กางเต็นท์ในอุทยาน พื้นที่กางเต็นท์ธรรมชาติที่พัฒนามาก พื้นที่กางเต็นท์
แห่งชาติในประเทศไทย ที่พัฒนาบ้าง และพื้นที่กางเต็นท์กึ่งสันโดษ
ผลการศึกษา พบว่าคะแนนค่าถ่วงน�้าหนัก พื้นที่กางเต็นท์บริเวณที่ท�าการฯ จัดอยู่ใน
สูงที่สุด คือ ความเป็นธรรมชาติ 4.00 และคะแนน ช่วงชั้นพื้นที่ประเภทพื้นที่กางเต็นท์ธรรมชาติที่พัฒนามาก
ค่าถ่วงน�้าหนักน้อยที่สุด ในปัจจัยด้านการจัดการ คือ มีการเข้าถึงที่สะดวกสบาย ง่าย โดยพาหนะทุกชนิด
การจัดการขยะในพื้นที่กางเต็นท์ 2.50 ซึ่งท�าให้เห็น ระดับการพัฒนาสิ่งอ�านวยความสะดวกสูง เน้นเพื่อ
ได้ว่าปัจจัยด้านกายภาพ นับเป็นปัจจัยที่มีความส�าคัญ รองรับการใช้ประโยชน์ส�าหรับคนทุกประเภท มีระบบ
ในการจ�าแนกช่วงชั้น และผู้เชี่ยวชาญได้เสนอชื่อพื้นที่ สื่อความหมายและการให้บริการจากเจ้าหน้าที่ที่มีให้เห็น
กางเต็นท์ที่มีประสบการณ์แตกต่างกัน อย่างน้อย 4 แห่ง และรับรู้ได้อย่างชัดเจน ซึ่งแตกต่างกับพื้นที่กางเต็นท์
ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง และพื้นที่ บริเวณบ้านกร่าง ซึ่งจัดอยู่ในช่วงชั้นพื้นที่ประเภทพื้นที่
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ โดยได้ให้พื้นที่กางเต็นท์ กางเต็นท์ธรรมชาติที่พัฒนาบ้าง และบริเวณพะเนินทุ่ง
ล�าตะคอง อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่เป็นตัวแทนพื้นที่ จัดอยู่ในช่วงชั้นพื้นที่ประเภทพื้นที่กางเต็นท์กึ่งสันโดษ
กางเต็นท์ธรรมชาติที่มีการพัฒนามาก พื้นที่กางเต็นท์ แม้จะมีช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการที่แตกต่างกัน
หนองแม่นา อุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง พื้นที่ แต่มีหลายปัจจัยชี้วัดที่ให้ค่าคล้ายคลึงกัน เช่น พื้นที่
กางเต็นท์ประจันตคาม ผากล้วยไม้ และคลองปลากั้ง กางเต็นท์มีความเป็นธรรมชาติสูง แต่ก็ได้มีการพัฒนา
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่เป็นตัวแทนพื้นที่กางเต็นท์ สิ่งอ�านวยความสะดวก มีการปรับเปลี่ยนหรือสร้าง
ธรรมชาติที่มีการพัฒนาบ้าง พื้นที่กางเต็นท์สะพานสลิง เลียนแบบธรรมชาติแบบถาวร และกึ่งถาวร แต่มีระดับ
อุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง พื้นที่กางเต็นท์ผากระดาษ
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ เป็นตัวแทนพื้นที่กางเต็นท์ การพัฒนาที่เข้มข้นน้อยกว่าบริเวณพื้นที่กางเต็นท์ที่
แบบกึ่งสันโดษและพื้นที่กางเต็นท์ทุ่งโนนสน และ ท�าการฯ แต่ก็มีบางปัจจัยด้านกายภาพและการจัดการ
ทุ่งนางพญา อุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวงเป็นตัวแทน พื้นที่ที่ให้ค่าแตกต่างกัน คือ ความยากง่ายในการ
พื้นที่กางเต็นท์แบบสันโดษ เข้าถึง ประเภทพาหนะ และวัตถุประสงค์ในการพัฒนา
เมื่อนักวิจัยได้น�าปัจจัยด้านกายภาพและการ สิ่งอ�านวยความสะดวก ซึ่งพื้นที่กางเต็นท์บริเวณพะเนินทุ่ง
จัดการ รวมถึงค่าถ่วงน�้าหนักจากข้อเสนอแนะของ จะเข้าถึงได้ล�าบากมากกว่า และจ�ากัดประเภทพาหนะที่
ผู้เชี่ยวชาญ/ผู้ทรงคุณวุฒิไปส�ารวจในพื้นที่กางเต็นท์ จะเข้าไปในพื้นที่ซึ่งต้องเป็นรถที่มีสมรรถนะสูงเท่านั้น
ดังกล่าว ผลการจ�าแนก ROS มีค่าตรงตามที่ผู้เชี่ยวชาญ/ เนื่องจากเส้นทางการเดินทางล�าบากมากกว่าและมี
ผู้ทรงคุณวุฒิได้ประเมินไว้ จึงท�าให้แบบประเมินมีความ ความลาดชันสูง ทั้งนี้ในการพัฒนาสิ่งอ�านวยความ
น่าเชื่อมั่นในการวัดเชิงเนื้อหาสามารถน�าไปประเมินใน สะดวกส่วนใหญ่จะเน้นสิ่งอ�านวยความสะดวกพื้นฐาน
พื้นที่ศึกษาวิจัยต่อไป เน้นความปลอดภัยและป้องกันผลกระทบต่อพื้นที่
กางเต็นท์มากกว่าความสะดวกสบายของนักท่องเที่ยว
การประเมินช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการ ซึ่งมีสิ่งอ�านวยความสะดวกเท่าที่จ�าเป็นและจ�ากัด
(ROS) ส�าหรับพื้นที่กางเต็นท์ในอุทยานแห่ง จ�านวนด้วยขนาดทางกายภาพของพื้นที่ที่มีจ�ากัด
ชาติแก่งกระจาน 2. ประเมิน ROS ด้านสังคม โดยประเมิน
1. ประเมิน ROS ด้านกายภาพและด้านการ จากประสบการณ์นักท่องเที่ยว