Page 66 -
P. 66

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์




                  64                         Thai J. For. 31 (3) : 55-64 (2013)



                                   สรุป                        จากการศึกษาพบว่าผลผลิตเม่าหลวงได้กระจายไปสู่

                                                               การแปรรูป จ�านวน 2 แหล่ง ดังกล่าว ดังนั้น ควรศึกษา
                         1.  ในการวิเคราะห์ผลส�าเร็จของการท�า  วิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค  (SWOT

                  วนเกษตรในระดับครัวเรือน  ภายใต้เครือข่ายวนเกษตร  Analysis)  ของแหล่งแปรรูปทั้งสอง  เพื่อการพัฒนา
                  ภูพาน  จังหวัดสกลนคร  ด้วยหลักการวิเคราะห์ทาง  ที่อยู่บนพื้นฐานของความเหมาะสมกับกลุ่มเครือข่าย
                  การเงินทั้ง  3  วิธี  ได้แก่  การหามูลค่าปัจจุบันสุทธิ    วนเกษตรภูพาน  จังหวัดสกลนคร  รวมทั้งควรศึกษา
                  อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน  และอัตราผลตอบแทน  วิเคราะห์ทางการเงินของการแปรรูปผลผลิตเม่าหลวงสด
                  ของโครงการ  โดยคิดเฉลี่ยต่อพื้นที่วนเกษตร  1  ไร่    เป็นผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้าย  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของ
                  ในช่วงระยะเวลาโครงการ  25  ปี  ให้ผลไปในทิศทาง  การลงทุนในระยะยาวให้แก่เกษตรกร

                  เดียวกันทั้งหมด  ในทุกรูปแบบของชนิดพืชที่น�ามาปลูก
                  ร่วมกันและทุกขนาดของแปลงโดยให้ผลตอบแทน                       ค�านิยม
                  คุ้มค่าในทุกระดับอัตราคิดลดที่ก�าหนดให้ที่ร้อยละ  5,
                  8  และ  10  ส�าหรับแปลงขนาดกลางที่ปลูกในรูปแบบ      ขอขอบพระคุณ เครือข่ายการศึกษาวนเกษตร
                  การปลูกเม่าหลวงร่วมกันกับล�าไยและดาวเรือง  ให้ผล  ภาคพื้นเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (SEANAFE) ผู้สนับสนุน
                  ตอบแทนสูงสุดตลอดอายุโครงการ  25  ปี  แต่เนื่องจาก  ทุนวิจัย และเครือข่ายวนเกษตรภูพาน จังหวัดสกลนคร
                  การน�าเอาเม่าหลวงซึ่งเป็นสายพันธุ์พืชมาจากป่ามา  ที่ให้ความร่วมมือ  และความอนุเคราะห์ในด้านต่างๆ
                  ปลูกร่วมกับล�าไยและดาวเรืองในรูปแบบวนเกษตร

                  ดังกล่าวยังขาดองค์ความรู้เกี่ยวกับการเกื้อกูลกันทาง  เป็นอย่างดีตลอดการเก็บข้อมูล
                  นิเวศวิทยาระหว่างพืชทั้งสามชนิดนี้  รวมทั้งผลกระทบ    เอกสารและสิ่งอ้างอิง
                  ด้านต่างๆ  ต่อสภาพพื้นที่และสภาพแวดล้อม  ดังนั้น
                  จึงควรศึกษาในเชิงลึกด้านสายพันธุ์ของพืชแต่ละชนิด  ชูชีพ พิพัฒน์ศิถี. 2540. เศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์โครงการ.
                  ให้ลึกซึ้ง  ทั้งนี้เนื่องจากพืชในแต่ละสายพันธุ์ย่อมมี     ภาควิชาเศรษฐศาสตร์  คณะเศรษฐศาสตร์
                  ลักษณะเด่นที่แตกต่างกัน  จึงส่งผลต่อการดูแลรักษา     มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
                  ที่แตกต่างกัน  รวมถึงราคาการจ�าหน่ายก็แตกต่างกัน

                  ไปด้วย  ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับคุณภาพของสายพันธุ์และความ  นิวัติ เรืองพานิช. 2548. ป่าและการป่าไม้ในประเทศไทย.
                  นิยมของผู้บริโภคตามท้องตลาดของสายพันธุ์นั้นๆ        ภาควิชาชีววิทยาป่าไม้    คณะวนศาสตร์
                         2.  วิถีการตลาดของผลผลิตเม่าหลวงที่ผลิต      มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
                  โดยระบบวนเกษตรของเกษตรกรกลุ่มตัวอย่างใน      อร่าม คุ้มกลาง  และวินัย  แสงแก้ว.  2542.  การศึกษา
                  เครือข่ายวนเกษตรภูพาน  ในปี  พ.ศ.  2550  พบว่ามี     ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของเม่าหลวง
                  ปริมาณผลผลิตเม่าหลวงจ�านวนทั้งสิ้นประมาณ 40.88 ตัน       (Antidesma thwaitesianum Muell. Arg.)
                  ผลผลิตส่วนใหญ่ถูกน�าเข้าสู่โรงงานอุตสาหกรรมใน       ในจังหวัดสกลนคร, น. 485 - 486. ใน เอกสาร
                  ท้องถิ่น  คิดเป็นร้อยละ  55.75  ส่วนผลผลิตที่เหลือ       การประชุมสัมมนาทางวิชาการ    สถาบัน

                  จ�าหน่ายให้กับกลุ่มแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรใน        เทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 16: เล่ม 2 สาขา
                  ชุมชน  คิดเป็นร้อยละ  44.25  เพื่อเข้าสู่กระบวนการ     เกษตรศาสตร์. สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
                  ผลิตเป็นไวน์  น�้าผลไม้พร้อมดื่ม  และน�้าผลไม้เข้มข้น       สถาบันวิจัยและพัฒนา, ขอนแก่น.
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71