Page 65 -
P. 65

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์




                                           วารสารวนศาสตร 31 (3) : 55-64 (2556)                      63
                                                           ์


                         ผลตอบแทนของโครงการ  ซึ่งได้แสดงไว้ใน    17.16  และต�่าสุดในแปลงขนาดเล็ก  รูปแบบที่  2  คือ

                  Table  6  พบว่า  อัตราส่วนผลตอบแทนของโครงการ  เท่ากับ  11.63
                  ในแปลงขนาดกลาง  รูปแบบที่  1  มีค่าสูงสุด  คือเท่ากับ

                  Table 6  Internal rate of return of agroforestry practiced by planting  Antidesma
                            thwaitesianum in combination with horticulture with given projected period
                            of 25 years.






















                  วิถีการตลาดของผลผลิตเม่าหลวงจากระบบ          เดียวกัน  ผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้ายดังกล่าวจะถูกน�าไป
                  วนเกษตร                                      จ�าหน่ายที่ตลาดริมทาง  ร้อยละ  16.14  ซึ่งเป็นแหล่ง
                         ท�าการศึกษาในปี พ.ศ. 2550 พบว่ามีปริมาณ  ตลาดที่จ�าหน่ายสินค้าเอกลักษณ์ของท้องถิ่น  ร้านค้า
                  ผลผลิตทั้งหมดที่ผลิตได้จากโครงการทั้งสิ้นประมาณ    ในอ�าเภอเมือง  จังหวัดสกลนคร  ร้อยละ  12.47  ร้านค้า
                  40,880 กิโลกรัม ในจ�านวนนี้ส่วนใหญ่ได้เข้าสู่โรงงาน  ในจังหวัดใกล้เคียง  ร้อยละ  8.49  ได้แก่  ขอนแก่น
                  อุตสาหกรรมในท้องถิ่น  จ�านวน  22,790.6  กิโลกรัม    กาฬสินธุ์  มหาสารคาม  ร้อยเอ็ด  และอ�านาจเจริญ  และ
                  คิดเป็นร้อยละ 55.75 เพื่อผลิตเป็นไวน์ น�้าผลไม้พร้อมดื่ม    ช่องทางการจ�าหน่ายอื่นๆ  ร้อยละ  7.15  ซึ่งช่องทางการ
                  น�้าผลไม้เข้มข้น  ผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้ายดังกล่าวถูกส่งให้  จ�าหน่ายอื่นๆ  ของการผลิตจากทั้ง  2  แห่งนั้น  เป็น
                  กับร้านค้าในอ�าเภอภูพาน  จังหวัดสกลนคร  ร้อยละ    ช่องทางการจ�าหน่ายตามโอกาส  เช่น  งานแสดงสินค้า

                  18.25  ร้านค้าในอ�าเภอเมือง  จังหวัดสกลนคร  ร้อยละ    OTOP งานส่งเสริมทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการแปรรูป
                  12.51  ร้านค้าในจังหวัดใกล้เคียง  ร้อยละ  10.30  ได้แก่    ผลิตภัณฑ์ของชุมชนในสถาบันการศึกษา  เป็นต้น
                  ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด และอ�านาจเจริญ       ด้านราคาจ�าหน่าย  พบว่า  ราคาผลผลิตสด
                  ตัวแทนจ�าหน่ายในจังหวัดกรุงเทพมหานคร  ร้อยละ    จะแบ่งออกเป็น  2  ประเภท  คือ  ผลผลิตสุกร้อยละ
                  8.23  และช่องทางการจ�าหน่ายอื่นๆ  ร้อยละ  6.46  ส่วน  ประมาณ  60 - 75  จะจ�าหน่ายได้ในราคา  25 - 30  บาท
                  ผลผลิตเม่าหลวงสดที่เหลืออีกจ�านวน  18,089.4  กิโลกรัม    ต่อกิโลกรัม  น�าไปผลิตน�้าผลไม้พร้อมดื่มให้รสเปรี้ยว
                  คิดเป็นร้อยละ 44.25 จ�าหน่ายให้กับกลุ่มแปรรูปผลผลิต  อมหวาน  ผลผลิตสุกมากกว่าร้อยละ  75  ขึ้นไป  ราคา
                  ทางการเกษตรในชุมชน  ซึ่งได้รับการสนับสนุนฝึก  30 - 45  บาท  น�าไปผลิตไวน์  และน�้าผลไม้เข้มข้น
                  อบรมจากสถาบันวิจัยและฝึกอบรมสกลนคร  และ      ให้รสหวานเพิ่มยิ่งขึ้น  ส�าหรับราคาจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์
                  สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลสกลนคร  ในการผลิต      แปรรูปจะขึ้นอยู่กับการออกแบบรูปร่างบรรจุภัณฑ์
                  เป็นไวน์  น�้าผลไม้พร้อมดื่ม  น�้าผลไม้เข้มข้น  เช่น  และขนาด  ราคาขวดละ  25-180  บาท
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70