Page 75 -
P. 75

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์




                                           วารสารวนศาสตร 31 (3) : 65-74 (2556)                      73
                                                           ์


                                   สรุป                        ในพื้นที่ การควบคุมความแออัดของปริมาณนักท่องเที่ยว

                                                               นอกจากนี้ประสบการณ์ที่นักท่องเที่ยวคาดหวังและ
                  ปัจจัยและเกณฑ์ในการก�าหนดช่วงชั้นโอกาสด้าน   ได้รับจะเป็นไปในทิศทางเดียวกัน  คือ  ประสบการณ์
                  นันทนาการส�าหรับพื้นที่กางเต็นท์ในอุทยานแห่ง  ในการกางเต็นท์ในพื้นที่กึ่งสันโดษ  ต้องการได้ใกล้ชิด
                  ชาติ                                         กับธรรมชาติ  ความเงียบสงบ  สันโดษ  ได้พึ่งพาตนเอง

                         ประกอบไปด้วย  3  ด้าน  คือ  ด้านกายภาพ   ในระดับที่มาก  ต้องการความเป็นอิสระจากการควบคุม
                  ด้านการจัดการ และด้านสังคม โดยปัจจัยด้านกายภาพ   ของเจ้าหน้าที่  แต่ขณะเดียวกันยังต้องการความสะดวก
                  นับเป็นปัจจัยที่มีความส�าคัญในการจ�าแนกช่วงชั้น  ในการเข้าถึง  และสภาพโดยรวมในพื้นที่  พร้อมทั้ง
                  โอกาสด้านนันทนาการ                           ต้องการพบปะนักท่องเที่ยวกลุ่มอื่นด้วยเช่นกัน  และ

                                                               จากการวิเคราะห์ผลการทดสอบความแตกต่างของ
                  การประเมินช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการ         ประสบการณ์นันทนาการที่คาดหวังและที่ได้รับจริง
                  ส�าหรับพื้นที่กางเต็นท์ในอุทยานแห่งชาติแก่ง  มีเพียงบริเวณพื้นที่กางเต็นท์พะเนินทุ่ง ซึ่งพบว่า มีความ

                  กระจาน                                       แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (t = 2.542, p-value =
                         จากปัจจัยด้านกายภาพและการจัดการ พบว่า    0.012) ประสบการณ์นันทนาการที่นักท่องเที่ยวคาดหวัง
                  พื้นที่กางเต็นท์บริเวณที่ท�าการอุทยานแห่งชาติ  จัดอยู่ใน  และที่ได้รับจริงจากการประกอบกิจกรรมกางเต็นท์มี
                  ช่วงชั้นพื้นที่กางเต็นท์ธรรมชาติที่พัฒนามาก บ้านกร่าง    ความแตกต่างกันแม้จะจัดอยู่ในช่วงชั้นพื้นที่กางเต้นท์
                  จัดอยู่ในช่วงชั้นพื้นที่กางเต็นท์ธรรมชาติที่พัฒนาบ้าง    กึ่งสันโดษเดียวกัน  จึงควรมีการพัฒนาสิ่งอ�านวยความ

                  และพะเนินทุ่ง  จัดอยู่ในช่วงชั้นพื้นที่กางเต็นท์กึ่งสันโดษ    สะดวกและการจัดการที่เข้มข้นต่างกันตามความเหมาะสม
                  แต่จากปัจจัยด้านสังคม พบว่า พื้นที่กางเต็นท์ทั้ง 3 แห่ง    ของสภาพกายภาพและการจัดการของพื้นที่ต่อไป
                  จัดอยู่ในประเภทพื้นที่กางเต็นท์กึ่งสันโดษ           จากผลการศึกษามีข้อเสนอแนะ ดังนี้ 1) ในการ
                                                               น�าผลการจ�าแนก  ROS  ไปใช้ประโยชน์  ควรพิจารณา
                  ลักษณะของนักท่องเที่ยวและความคิดเห็น         ทั้งปัจจัยด้านกายภาพ  การจัดการและด้านสังคม  และ
                  เกี่ยวกับการจัดการพื้นที่กางเต็นท์           น�าผลการวิเคราะห์มาจัดท�าข้อเสนอแนะแนวทางใน
                         พื้นที่กางเต็นท์ ทั้ง 3 แห่ง โดยส่วนใหญ่แล้ว  การจัดการพื้นที่กางเต็นท์  2)  จากผลการศึกษา  ท�าให้

                  มีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน  อาจมีบางปัจจัยที่แตกต่างกัน    ทราบว่านักท่องเที่ยวส่วนใหญ่ในปัจจุบันแม้คาดหวัง
                  แต่ก็เป็นไปในทิศทางเดียวกัน คือ นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่  ที่จะได้รับประสบการณ์การกางเต็นท์ในพื้นที่กึ่งสันโดษ
                  จะเป็นวัยท�างาน  อายุเฉลี่ย  33  ปี  มาแบบกลุ่มเพื่อน    แต่ในขณะเดียวกันก็ต้องการได้รับความสะดวกใน
                  หรือครอบครัว/ญาติ  กลุ่มละประมาณ  1 - 5  คน  นิยม  หลายๆ  ด้าน  ดังนั้น  การพัฒนาสิ่งอ�านวยความสะดวก
                  มาท่องเที่ยวในวันหยุดสุดสัปดาห์  วัตถุประสงค์หลัก  และสิ่งก่อสร้างจะต้องออกแบบให้มีขนาดเล็กและใช้
                  คือมากางเต็นท์  ประมาณ  1 - 2  คืน  เพื่อพักผ่อน/ชม  วัสดุที่กลมกลืนกับธรรมชาติ ให้สอดคล้องกับวัฒนธรรม
                  ธรรมชาติ  โดยส่วนใหญ่ต้องการความสะดวกสบาย    ท้องถิ่น  ตลอดจนวัสดุที่ใช้เหมาะกับสภาพภูมิประเทศ
                  และมักประกอบอาหารรับประทานเอง  ความคิดเห็น   และช่วงฤดูกาล  เพื่อไม่ให้สิ่งแปลกปลอมที่เข้าไปอยู่

                  ของนักท่องเที่ยวเกี่ยวกับการจัดการด้านกายภาพ    ในอุทยานแห่งชาติส่งผลกระทบต่อสภาพธรรมชาติ
                  ด้านการพัฒนาสิ่งอ�านวยความสะดวก  และการจัดการ  ทั้งด้านกายภาพและความรู้สึกของนักท่องเที่ยว  โดย
                  นักท่องเที่ยว  เห็นว่ามีความเหมาะสมปานกลาง  แต่มี  ต้องวิเคราะห์ผู้ใช้ประโยชน์และศักยภาพของพื้นที่
                  บางปัจจัยที่ต้องปรับปรุง  คือ  การเพิ่มร่มเงาต้นไม้ใหญ่  กางเต็นท์ร่วมกัน  3)  ควรให้ความส�าคัญกับความคิดเห็น
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80