Page 79 -
P. 79
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 31 (3) : 75-84 (2556) 77
์
ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันการเกิดไฟป่า ควรที่จะให้ การมีส่วนร่วมของราษฎร ได้แก่ ระดับการศึกษา
ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านการป้องกัน ต�าแหน่งที่ได้รับและความรู้ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากร
ไฟป่า ซึ่งการบริหารการจัดการป่าไม้ให้ประสบความ ป่าไม้
ส�าเร็จนั้น ปัจจัยส�าคัญคือ ความร่วมมือจากประชาชน แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับไฟป่าไฟเป็น
ในการบริหารจัดการป่าในพื้นที่ของตนเอง อาทิ การมี ผลลัพธ์ที่เกิดจากกระบวนการทางเคมี เมื่อมีองค์ประกอบ
ส่วนร่วมของคนและชุมชนในการป้องกันไฟป่า โดยจัด ส�าคัญ 3 ประการ คือเชื้อเพลิง ความร้อน และ
ให้มีการฝึกอบรมราษฎรและเยาวชนให้มีความรู้ ความ ออกซิเจนมารวมตัวกัน ในสัดส่วนที่เหมาะสมที่เกิด
เข้าใจเกี่ยวกับป่าไม้ การป้องกันไฟป่า เพื่อฟื้นคืนสภาพ การเผาไหม้และท�าให้การเผาไหม้สามารถด�าเนินการ
ป่าพรุให้อุดมสมบูรณ์ดังเดิม ด้วยเหตุผลดังกล่าว ผู้วิจัย ไปอย่างต่อเนื่อง (ศิริ, 2543)
จึงมีความสนใจที่จะศึกษาถึงการมีส่วนร่วมของประชาชน
รวมทั้งปัจจัยต่างๆ ที่มีความส�าคัญต่อการป้องกันไฟป่า อุปกรณ์และวิธีการ
เพื่อน�ามาวิเคราะห์หาข้อมูล แล้วน�าผลที่ได้มาใช้ใน
การวางแผนป้องกันไฟป่าต่อไป พื้นที่ศึกษา
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 3 ข้อ 1) เพื่อ พื้นที่โครงการพัฒนาป่าไม้และระบบนิเวศ
ศึกษาสภาพเศรษฐกิจ สังคมของประชาชน ต�าบล ป่าพรุในพื้นที่ลุ่มน�้าปากพนังอันเนื่องมาจากพระราช
สวนหลวง อ�าเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครศรีธรรมราช ด�าริ ต�าบลสวนหลวง อ�าเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัด
2) เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน ต�าบล นครศรีธรรมราช
สวนหลวง อ�าเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครศรีธรรมราช
ในการป้องการไฟป่า 3) เพื่อศึกษาปัจจัยทางเศรษฐกิจ การเก็บรวบรวมข้อมูล
สังคม ที่มีต่อการมีส่วนร่วมในการป้องกันไฟป่าในพื้นที่ การเก็บรวบรวมข้อมูลในการศึกษาครั้งนี้
ดังกล่าว แบ่งออกเป็น 4 ตอน ได้แก่ 1) ข้อมูลทั่วไป 2) ความรู้
การตรวจเอกสาร ผู้ศึกษาได้น�าแนวคิด ทฤษฎี ความเข้าใจ 3) ข้อมูลการมีส่วนร่วม และ 4) การทดสอบ
และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาเป็นแนวทางในการศึกษา สมมติฐานตามกรอบแนวคิดในการวิจัย ผู้วิจัยได้ก�าหนด
ดังนี้ แนวคิดและทฤษฎีในการมีส่วนร่วม แนวคิดและ ตัวอย่าง โดยสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (accidental
ทฤษฎีเกี่ยวกับการป้องกันไฟป่า งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง sampling) และก�าหนดขนาดของครัวเรือนโดยใช้สูตร
และข้อมูลพื้นที่ท�าการศึกษา Yamane (1973) ที่มีค่าความคลาดเคลื่อนเท่ากับ 0.05
ความหมายของการมีส่วนร่วม ประเวศ (2532) ตัวอย่าง ในการศึกษาครั้งนี้ใช้แบบสอบถาม จ�านวน
กล่าวถึง การมีส่วนร่วมของประชาชนว่าเป็นความริเริ่ม 366 ตัวอย่าง และสร้างแบบสอบถามจากแนวคิดทฤษฎี
ของท้องถิ่น ในการท�าให้เกิดการจัดองค์กรการพัฒนา งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนการส�ารวจภาคสนาม
และมีการเกิดขึ้นของผู้น�าตามธรรมชาติผู้น�าของชุมชน จากนั้นด�าเนินการทดสอบแบบสอบถาม (pretest) กับ
ผู้น�าที่ทางราชการแต่งตั้งอาจจะเป็นชาวบ้าน พระสงฆ์ กลุ่มตัวอย่าง จ�านวน 30 คน ใช้โปรแกรมสถิติส�าเร็จ
ผู้ใหญ่บ้าน ก�านัน ครู เป็นต้น วสันต์ (2544) ศึกษา รูปวิเคราะห์ “Cronbach’s Alpha Coefficient” ได้ค่า
การมีส่วนร่วมของราษฎรในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ความรู้ความเข้าใจเรื่องไฟป่าเท่ากับ 0.70 การมีส่วนร่วม
และสัตว์ป่าในพื้นที่เขตห้ามล่าสัตว์ป่าเขาสมโภชน์ ในการป้องกันไฟป่า เท่ากับ 0.94 เก็บข้อมูลระหว่าง
อ�าเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี พบว่าปัจจัยที่มีผลต่อ เดือนพฤษภาคม - พฤศจิกายน พ.ศ. 2554