Page 52 -
P. 52

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์




                  50                         Thai J. For. 31 (3) : 45-54 (2013)



                         จ�านวนแรงงานในครัวเรือน  ผลการศึกษา          รายได้ ผลการศึกษาพบว่า ราษฎรกลุ่มตัวอย่าง

                  พบว่า  ราษฎรกลุ่มตัวอย่างที่ท�าการศึกษาส่วนใหญ่     ที่ท�าการศึกษาส่วนใหญ่มีรายได้น้อยกว่าหรือเท่ากับ
                  มีจ�านวนแรงงานในครัวเรือน  1 - 3  คน  คิดเป็นร้อยละ    80,000  บาท  คิดเป็นร้อยละ  32.80  รองลงมาราษฎร
                  49.60  รองลงมามีจ�านวนแรงงานในครัวเรือน  4 - 6  คน    กลุ่มตัวอย่างมีรายได้  80,001 - 150,000  บาท  ร้อยละ
                  ร้อยละ  43.70  และจ�านวนแรงงานในครัวเรือนมากกว่า  28.50  มีรายได้มากกว่า  220,000  บาท  คิดเป็นร้อยละ
                  หรือเท่ากับ 7 คน ร้อยละ 6.60 โดยราษฎรกลุ่มตัวอย่าง  23.20  และมีรายได้  150,001 - 220,000  บาท  ร้อยละ
                  มีจ�านวนแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 3.90 คน มากที่สุด    15.60 โดยมีรายได้เฉลี่ย 159,818.10 บาท ต�่าสุด  6,000 บาท
                  10  คน  และน้อยที่สุด  1  คน                 สูงสุด  1,100,000  บาท
                         การตั้งถิ่นฐานของครัวเรือนราษฎร  ผลการ       รายจ่าย  ผลการศึกษาพบว่า  ราษฎรกลุ่ม
                  ศึกษาพบว่า ราษฎรกลุ่มตัวอย่างที่ท�าการศึกษาส่วนใหญ่  ตัวอย่างที่ท�าการศึกษาส่วนใหญ่มีรายจ่ายน้อยกว่า หรือ
                  มีภูมิล�าเนาเดิมอยู่ในหมู่บ้านอยู่แล้ว  คิดเป็นร้อยละ    เท่ากับ  80,000  บาท  คิดเป็นร้อยละ  41.40  รองลงมา
                  62.60  และย้ายมาจากที่อื่นร้อยละ  37.40  โดยย้ายมา  มีรายจ่าย  80,001 - 150,000  บาท  ร้อยละ  32.80
                  จากจังหวัดอื่นร้อยละ  18.60  ย้ายมาจากอ�าเภออื่นใน  ส่วนรายจ่าย  150,001 - 220,000  บาท  และรายจ่าย
                  ท้องที่จังหวัดเดียวกันร้อยละ  10.60  ย้ายมาจากต�าบล  มากกว่า  220,000  บาท  มีจ�านวนเท่ากันคิดเป็นร้อยละ

                  อื่นในท้องที่อ�าเภอเดียวกันร้อยละ  4.60  และย้ายมาจาก  12.90  โดยรายจ่ายเฉลี่ย  133,062.50  บาท  ต�่าสุด
                  หมู่บ้านอื่นท้องที่ต�าบลเดียวกัน  ร้อยละ  3.60    6,000  บาท  และสูงสุด  1,250,000  บาท
                         ระยะเวลาที่อยู่อาศัยในหมู่บ้าน  ผลการศึกษา     สภาวะทางการเงิน  ผลการศึกษาพบว่า  ราษฎร
                  พบว่า  ราษฎรกลุ่มตัวอย่างที่ท�าการศึกษาส่วนใหญ่    กลุ่มตัวอย่างที่ท�าการศึกษาส่วนใหญ่มีสถานะการเงิน
                  มีระยะเวลาที่อยู่อาศัยในหมู่บ้าน  31 - 45  ปี  และ  รายได้พอกับรายจ่าย  คิดเป็นร้อยละ  42.70  รองลงมา
                  มากกว่า  45  ปี  มีจ�านวนเท่ากันคิดเป็นร้อยละ  39.40    มีเงินออมร้อยละ  30.80  และมีหนี้สิน  ร้อยละ  26.50
                  รองลงมามีระยะเวลาที่อยู่อาศัยในหมู่บ้าน  16 - 30  ปี
                  ร้อยละ  20.90  และน้อยที่สุดที่มีระยะเวลาที่อยู่อาศัยใน     การถือครองที่ดิน  ผลการศึกษาพบว่า  ราษฎร
                  หมู่บ้าน  1 - 15  ปี  ร้อยละ  0.30  โดยมีระยะเวลาอาศัย  กลุ่มตัวอย่างที่ท�าการศึกษาส่วนใหญ่ไม่มีที่ดิน  ในการ
                  อยู่ในหมู่บ้านเฉลี่ย  30.50  ปี  มากที่สุด  65  ปี  และ  ถือครอง  คิดเป็นร้อยละ  73.50  และมีที่ดินถือครอง
                  น้อยที่สุด  1  ปี                            เพียงร้อยละ  26.50  โดยมีที่ดินถือครอง  1 - 10  ไร่  คิดเป็น
                         อาชีพหลัก  ผลการศึกษาพบว่า  ราษฎรกลุ่ม  ร้อยละ  25.80  และมากกว่า  10  ไร่  ร้อยละ  0.70  ซึ่งมี
                  ตัวอย่างที่ท�าการศึกษาส่วนใหญ่ประกอบอาชีพหลัก  ขนาดที่ดินถือครองโดยเฉลี่ย  4.60  ไร่  ต�่าสุด  1  ไร่
                  รับจ้างคิดเป็นร้อยละ  32.50  รองลงมาประกอบอาชีพ  สูงสุด 100 ไร่ โดยราษฎรส่วนใหญ่คิดว่ามีที่ดินถือครอง
                  ค้าขาย  คิดเป็นร้อยละ  20.50  อาชีพรับราชการ  ร้อยละ    ไม่เพียงพอสูงถึงร้อยละ  22.20  และมีที่ดินเพียงพอ
                  17.50  อาชีพเกษตรกรรม  ร้อยละ  16.20  และประกอบ  เพียงร้อยละ  4.30

                  อาชีพอื่นๆ  ร้อยละ  13.30  อาทิ  เช่น  แม่บ้าน  ธุรกิจ     การรับข่าวสาร  ผลการศึกษาพบว่า  ราษฎร
                  ส่วนตัว                                      กลุ่มตัวอย่างที่ท�าการศึกษาส่วนใหญ่ไม่เคยได้รับ
                         อาชีพรอง  ผลการศึกษาพบว่า  ราษฎรกลุ่ม  ข่าวสารด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้  สูงถึงร้อยละ
                  ตัวอย่างที่ท�าการศึกษาส่วนใหญ่ไม่มีอาชีพรองคิดเป็น    84.80  ส่วนราษฎรกลุ่มตัวอย่างที่เคยได้รับข่าวสารด้าน
                  ร้อยละ  63.20  และมีอาชีพรองร้อยละ  36.80  โดย  การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้มีเพียงร้อยละ  15.20  โดยมี
                  ประกอบอาชีพรับจ้างร้อยละ  16.90  รองลงมาประกอบ  ระดับความถี่ในการรับข่าวสาร  1 - 2  ครั้งต่อปี  คิดเป็น
                  อาชีพเกษตรกรรมร้อยละ 11.60 และค้าขายร้อยละ 8.30  ร้อยละ  7.30  รองลงมาในช่วง  3 - 4  ครั้งต่อปี  และ
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57