Page 51 -
P. 51
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 31 (3) : 45-54 (2556) 49
์
ค�าถามเชิงบวก ค�าถามเชิงลบ คะแนน มาตรฐาน และวิเคราะห์ข้อมูลหาปัจจัยที่มีผลต่อความ
มากที่สุด น้อยที่สุด 5 คิดเห็นในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้โดยใช้สถิติ t-test
มาก น้อย 4 กับตัวแปรอิสระที่แบ่งกลุ่มออกเป็น 2 กลุ่ม และใช้
ปานกลาง ปานกลาง 3 สถิติ F-test กับตัวแปรอิสระตั้งแต่ 3 กลุ่มขึ้นไป
น้อย มาก 2 ก�าหนดค่านัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
น้อยที่สุด มากที่สุด 1
ผลและวิจารณ์
การแบ่งระดับความคิดเห็นในการอนุรักษ์
ทรัพยากรป่าไม้มี 5 ระดับ โดยค�านวณระดับความ ข้อมูลทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และข้อมูลทั่วไป
กว้างของอันตรภาคชั้นของคะแนนความคิดเห็นดังนี้ เพศ ผลการศึกษาพบว่า ราษฎรกลุ่มตัวอย่าง
ที่ท�าการศึกษาส่วนใหญ่เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ
คะแนนสูงสุด - คะแนนต�่าสุด 5 - 1 = 0.80 70.50 ส่วนที่เหลือเป็นเพศหญิง ร้อยละ 29.50
จ�านวนชั้น 5 อายุ ผลการศึกษาพบว่า ราษฎรกลุ่มตัวอย่าง
ที่ท�าการศึกษาส่วนใหญ่มีอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 40 ปี
คิดเป็นร้อยละ 51.80 รองลงมามีอายุ 41 - 50 ปี 51 - 60 ปี
จากเกณฑ์ดังกล่าวสามารถแปลความหมาย
ระดับความคิดเห็นในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ได้ และมากกว่า 60 ปี คิดเป็นร้อยละ 25.80 17.20 และ
ดังนี้ 5.30 ตามล�าดับ โดยราษฎรกลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย
ระดับน้อยที่สุด ค่าคะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 1.00 - 41.30 ปี มีอายุมากที่สุด 65 ปี และมีอายุน้อยที่สุด 22 ปี
ระดับการศึกษา ผลการศึกษาพบว่า ราษฎร
1.80 หมายถึง ความคิดเห็นของราษฎรต่อการอนุรักษ์ กลุ่มตัวอย่างที่ท�าการศึกษาส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับ
ทรัพยากรป่าไม้ในระดับน้อยที่สุด ประถมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 45.00 รองลงมามีการศึกษา
ระดับน้อย ค่าคะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 1.81 - ระดับมัธยมศึกษา ร้อยละ 28.80 ระดับปริญญาตรี
2.60 หมายถึง ความคิดเห็นของราษฎรต่อการอนุรักษ์ และโท ร้อยละ 15.20 และมีการศึกษาระดับ ปวช. และ
ทรัพยากรป่าไม้ในระดับน้อย ปวส. ร้อยละ 11.00
ระดับปานกลาง ค่าคะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 2.61 - ศาสนา ผลการศึกษาพบว่า ราษฎรกลุ่มตัวอย่าง
3.40 หมายถึง ความคิดเห็นของราษฎรต่อการอนุรักษ์ ที่ท�าการศึกษาส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธสูงมากถึง
ทรัพยากรป่าไม้ระดับปานกลาง ร้อยละ 97.00 รองลงมานับถือศาสนาอิสลาม ร้อยละ
ระดับมาก ค่าคะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 3.41 - 1.90 นับถือศาสนาคริสต์ ร้อยละ 0.80 และนับถือ
4.20 หมายถึง ความคิดเห็นของราษฎรต่อการอนุรักษ์ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ร้อยละ 0.30
ทรัพยากรป่าไม้ระดับมาก จ�านวนสมาชิกในครัวเรือน ผลการศึกษา
ระดับมากที่สุด ค่าคะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 4.21 - พบว่า ราษฎรกลุ่มตัวอย่างที่ท�าการศึกษาส่วนใหญ่มี
5.00 หมายถึง ความคิดเห็นของราษฎรต่อการอนุรักษ์ จ�านวนสมาชิก 1 - 4 คน คิดเป็นร้อยละ 81.40 รองลงมา
ทรัพยากรป่าไม้ระดับมากที่สุด มีจ�านวนสมาชิกในครัวเรือน 5 - 8 คน ร้อยละ 15.20
3. น�าข้อมูลทั่วไปด้านเศรษฐกิจและสังคม และจ�านวนสมาชิกในครัวเรือนมากกว่าหรือเท่ากับ 9 คน
ความรู้ในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และความคิดเห็น ร้อยละ 3.30 โดยราษฎรกลุ่มตัวอย่างมีจ�านวนสมาชิก
ของราษฎรในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้มาค�านวณ ในครัวเรือนเฉลี่ย 4.30 คน มากที่สุด 13 คน และ
หาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าต�่าสุด ค่าสูงสุด ส่วนเบี่ยงเบน น้อยที่สุด 1 คน