Page 49 -
P. 49

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์




                                           วารสารวนศาสตร 31 (3) : 45-54 (2556)                      47
                                                           ์


                  ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  โดยให้ความส�าคัญในการ  อย่างใกล้ชิด  พร้อมสร้างจิตส�านึกให้ราษฎรอนุรักษ์

                  เพิ่มประสิทธิภาพ  ให้เอื้อต่อการใช้ประโยชน์และการ  ทรัพยากรป่าไม้  ดังนั้น  การศึกษาถึงปัจจัยทางด้าน
                  อนุรักษ์ฟื้นฟู  เป็นการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากของ  เศรษฐกิจและสังคม  และความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับ
                  ประเทศไทย  มีการปรับกลไกและกระบวนการจัดการเชิง  การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้จึงเป็นสิ่งจ�าเป็น  เพื่อจะ
                  บูรณาการที่เน้นการมีส่วนร่วมของท้องถิ่น  ปรับเปลี่ยน  ได้น�าผลการศึกษาไปใช้เป็นแนวทางในการวางแผน
                  พฤติกรรมของคนไทยให้มีจิตส�านึกในการอนุรักษ์สภาพ  ปฏิบัติงาน  ตลอดจนแก้ไขปรับปรุงการบริหาร  และ
                  แวดล้อมของชาติ เพิ่มประสิทธิภาพการบังคับใช้กฎหมาย  จัดการด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ของชาติสืบไป
                  ที่ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการการอนุรักษ์       ในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา

                  ฟื้นฟู  รักษาสภาพแวดล้อมชุมชนที่เป็นระบบอย่าง  ข้อมูลทางด้านเศรษฐกิจ-สังคม  ข้อมูลทั่วไป  ระดับ
                  ต่อเนื่อง  และส่งผลให้การพัฒนาเป็นไปอย่างยั่งยืน    ความคิดเห็น  และปัจจัยที่มีผลต่อความคิดเห็นของ
                  (ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม    ราษฎรในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ที่อยู่รายรอบ
                  แห่งชาติ,  2550)                             เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาเขียว-เขาชมภู่  จังหวัดชลบุรี
                         การประกาศจัดตั้งเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาเขียว-  สมมติฐานในการวิจัยครั้งนี้คือ  เพศ  อายุ  ระดับการ
                  เขาชมภู่  ในท้องที่จังหวัดชลบุรี  เป็นมาตรการหนึ่ง  ศึกษา  ศาสนา  จ�านวนสมาชิกในครัวเรือน  อาชีพหลัก
                  ของรัฐบาลในการพิทักษ์รักษาป่าในภาคตะวันออกของ  ระยะเวลาที่อยู่อาศัยในท้องถิ่น  รายได้ของครัวเรือน
                  ประเทศซึ่งเป็นแหล่งต้นน�้าล�าธารโดยมีวัตถุประสงค์  จ�านวนพื้นที่ถือครอง  การได้รับการฝึกอบรมเกี่ยวกับ
                  เพื่อคุ้มครองรักษาทรัพยากรป่าไม้  สัตว์ป่า  และแหล่ง  การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้  และความรู้เกี่ยวกับการ

                  ต้นน�้าล�าธาร  แต่ในความเป็นจริงปรากฏว่าในเขตรักษา  อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แตกต่างกันมีความคิดเห็นใน
                  พันธุ์สัตว์ป่าเขาเขียว-เขาชมภู่  มีราษฎรที่อาศัยอยู่โดย  การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แตกต่างกัน
                  รอบและในท้องที่ใกล้เคียงได้ล่วงละเมิดข้อกฎหมาย
                  โดยการบุกรุกเข้าไป แผ้วถางครอบครองพื้นที่ป่า ท�าไร่    อุปกรณ์และวิธีการ
                  ปล่อยสัตว์เลี้ยง  เก็บหาของป่าและล่าสัตว์อยู่เป็นประจ�า
                  ทั้งนี้เนื่องจากปัญหาทางด้านเศรษฐกิจและสังคมที่ท�า     อุปกรณ์ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่  1)  แผนที่
                  ให้ราษฎรจ�าเป็นจะต้องพึ่งพิงป่า รวมทั้งการหาประโยชน์  ทหารมาตราส่วนที่  1:50,000  และแผนที่สังเขปแสดง

                  จากป่า  จึงท�าให้พื้นที่ป่าถูกท�าลายเพิ่มมากขึ้น  และ  บริเวณพื้นที่ที่ท�าการศึกษา  2)  แบบสัมภาษณ์  ส�าหรับ
                  ท�าให้เกิดปัญหาความขัดแย้งระหว่างราษฎรกับเจ้าหน้าที่  ใช้เก็บข้อมูลจากราษฎรกลุ่มตัวอย่าง  3)  อุปกรณ์เครื่อง
                  รัฐในการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย  (กรมอุทยานแห่ง  เขียน  และ  4)  เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมโปรแกรม
                  ชาติ  สัตว์ป่า  และพันธุ์พืช,  2550  )       ส�าเร็จรูป  ส�าหรับใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
                         การบริหารจัดการเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาเขียว-
                  เขาชมภู่  จึงมักมีปัญหากับราษฎรในพื้นที่  เพราะหาก  การสร้างแบบสัมภาษณ์
                  ราษฎรมีรายได้ไม่เพียงพอและมีความเป็นอยู่ที่ไม่ดี       ในการศึกษาครั้งนี้ใช้แบบสัมภาษณ์เป็น
                  ประกอบกับไม่มีความรู้และไม่ตระหนักถึงความส�าคัญ  เครื่องมือในการเก็บข้อมูล  โดยแบ่งออกเป็น  4  ส่วน
                  ของการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้  ก็ย่อมบุกรุกแผ้วถาง  ได้แก่  1)  ข้อมูลทั่วไปของราษฎรรายรอบพื้นที่ท�าการ

                  ท�าลายป่า  แสวงหาที่ดินท�ากินเพิ่มขึ้นเพื่อความอยู่รอด  ศึกษา  2)  ข้อมูลลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคมของ
                  ของตนเองและครอบครัว  จึงจ�าเป็นอย่างยิ่งที่เจ้าหน้าที่  ราษฎร  3)  ความรู้ในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้  และ
                  ของรัฐต้องให้ความส�าคัญและเข้าไปบริหารจัดการดูแล  4)  ความคิดเห็นในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติป่า
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54