Page 45 -
P. 45
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 31 (3) : 36-44 (2555) 43
์
เก็บหาผลไม้มากกว่าราษฎรกลุ่มที่เข้าร่วมกิจกรรมใน เก็บหาเห็ดมากกว่าราษฎรกลุ่มที่เข้าร่วมกิจกรรมใน
การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ 1 ครั้ง และไม่เข้าร่วม การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ 1 ครั้ง และไม่เข้าร่วม
กิจกรรม กิจกรรม
หน่อไม้ จากการทดสอบสมมติฐาน พบว่ามี แมลงกินได้ จากการทดสอบสมมติฐาน
3 ปัจจัยที่มีผลต่อการเก็บหาหน่อไม้ได้แก่ 1) อาชีพหลัก พบว่ามี 2 ปัจจัยที่มีผลต่อการเก็บหาแมลงกินได้ ได้แก่
พบว่า ราษฎรที่ท�านา และท�าสวนมีการเก็บหาหน่อไม้ 1) อาชีพหลัก พบว่า ราษฎรที่ท�าสวนมีการเก็บหา
มากกว่าราษฎรที่ค้าขาย 2) การมีอาชีพรอง พบว่า แมลงกินได้มากกว่าราษฎรที่รับราชการ 2) รายได้ของ
ผู้ที่ไม่มีอาชีพรองมีการเก็บหาหน่อไม้มากกว่าผู้ที่มี ครัวเรือน พบว่า ราษฎรที่มีรายได้น้อยกว่า 40,000 บาท
อาชีพรอง และ 3) การเข้าร่วมกิจกรรมในการอนุรักษ์ มีการเก็บหาแมลงกินได้มากกว่าราษฎรที่มีรายได้ตั้งแต่
ทรัพยากรป่าไม้ พบว่า ราษฎรกลุ่มที่เข้าร่วมกิจกรรม 80,000 บาทขึ้นไป และราษฎรที่มีรายได้ 40,000 -
ในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ 2 ครั้งมีการเก็บหา 60,000 บาท มีการเก็บหาแมลงกินได้มากกว่าราษฎร
หน่อไม้มากกว่าราษฎรกลุ่มที่เข้าร่วมกิจกรรมใน ที่มีรายได้ 60,000 - 80,000 บาท และมีรายได้ตั้งแต่
การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ 1 ครั้ง และไม่เข้าร่วม 80,000 บาทขึ้นไป
กิจกรรม
หวาย จากการทดสอบสมมติฐาน พบว่ามี สรุป
1 ปัจจัยที่มีผลต่อการเก็บหาหวายได้แก่ จ�านวนสมาชิก
ในครัวเรือน พบว่า ครัวเรือนที่มีจ�านวนสมาชิกใน การศึกษาการพึ่งพิงทรัพยากรป่าไม้ของราษฎร
ครัวเรือนตั้งแต่ 7 คนขึ้นไปมีการเก็บหาหวายมากกว่า ที่อาศัยอยู่รอบป่ากันชนของป่าสงวนแห่งชาติน�้าปุ๋ย
ครัวเรือนที่มีจ�านวนสมาชิกในครัวเรือนน้อยกว่าหรือ พบว่า ราษฎรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 41.04 ปี
เท่ากับ 4 คน 5 คน และ 6 คน ส่วนใหญ่มีเผ่าพันธุ์เป็นลาวลุ่ม จบการศึกษาระดับชั้น
เห็ด จากการทดสอบสมมติฐาน พบว่ามี ประถม อาชีพหลักท�านา ร้อยละ 65.93 มีอาชีพรอง
4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเก็บหาเห็ด ได้แก่ 1) ระดับการ ระยะเวลาการตั้งถิ่นฐานเฉลี่ย 37.02 ปี มีที่ดินถือครอง
ศึกษา พบว่า ราษฎรที่จบการศึกษาระดับชั้นประถม เฉลี่ย 13.53 ไร่ มีรายได้เฉลี่ย 73,996.46 บาทต่อปี
ศึกษามีการเก็บหาเห็ดมากกว่าราษฎรที่จบการศึกษา รายจ่ายเฉลี่ย 44,505.31 บาทต่อปี ราษฎรร้อยละ 95.54
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและอาชีวศึกษา และราษฎร ได้รับข้อมูลข่าวสารในการอนุรักษ์จากเจ้าหน้าที่ของรัฐ
ที่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นมีการเก็บหา ร้อยละ 98.23 เข้าร่วมกิจกรรมในการอนุรักษ์ทรัพยากร
เห็ดมากกว่าราษฎรที่จบการศึกษาระดับอาชีวศึกษา ป่าไม้ ทรัพยากรป่าไม้ที่ราษฎรพึ่งพิง ได้แก่ ฟืน ไม้ ไผ่
2) อาชีพหลัก พบว่า ราษฎรที่ท�าไร่มีการเก็บหาเห็ด พืชสมุนไพร ผลไม้ หน่อไม้ หวาย เห็ด และแมลง
มากกว่าราษฎรที่รับราชการ รับจ้างและค้าขาย และ กินได้ โดยมีมูลค่าเท่ากับ 5,880,007.28 บาท
ราษฎรที่ท�าสวนมีการเก็บหาเห็ดมากกว่าราษฎรที่ การทดสอบสมมติฐานพบว่าระดับการศึกษา
ค้าขาย 3) รายได้ของครัวเรือน พบว่า ราษฎรที่มีรายได้ อาชีพหลัก การมีอาชีพรอง จ�านวนสมาชิกในครัวเรือน
น้อยกว่า 40,000 บาท และมีรายได้ 40,000 - 60,000 ขนาดพื้นที่ที่ถือครอง รายได้ของครัวเรือน และการ
บาท มีการเก็บหาเห็ดมากกว่าราษฎรที่มีรายได้ตั้งแต่ เข้าร่วมกิจกรรมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ของ
80,000 บาทขึ้นไป และ 4) การเข้าร่วมกิจกรรมใน ราษฎรต่างกันมีการพึ่งพิงทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่
การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ พบว่า ราษฎรกลุ่มที่เข้าร่วม กันชนของป่าสงวนแห่งชาติน�้าปุ๋ย แตกต่างกันอย่างมี
กิจกรรมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ 2 ครั้งมีการ นัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05