Page 40 -
P. 40

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์




                  38                         Thai J. For. 31 (3) : 36-44 (2012)



                  กันชนบางส่วนให้ท�าการเกษตรได้  ตลอดจนให้ราษฎร       2. ข้อมูลปฐมภูมิ (primary data) เป็นข้อมูล

                  สามารถล่าสัตว์  เก็บหาของป่าและตัดไม้ได้บางชนิด  ที่ได้จากการใช้แบบสอบถามสัมภาษณ์ครัวเรือนที่
                  เพื่อมาใช้สอยในครัวเรือนได้  และก�าหนดพื้นที่เพื่อ  ศึกษาในช่วงเดือนมิถุนายน 2552 ถึงเดือนพฤษภาคม
                  การอนุรักษ์ลักษณะที่โดดเด่นทางธรรมชาติและความ  2553
                  หลากหลายทางชีวภาพไว้บางส่วนตามความเหมาะสม

                  ดังนั้นการศึกษาการพึ่งพิงทรัพยากรป่าไม้ของราษฎร  การสุ่มตัวอย่าง
                  ที่อาศัยอยู่รอบแนวกันชนของป่าสงวนแห่งชาติน�้าปุ๋ย     ในการศึกษาครั้งนี้จะท�าการสุ่มเลือกหมู่บ้าน
                  จึงมีความจ�าเป็นเพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผน  ตัวอย่างที่จะใช้เป็นพื้นที่ศึกษาจ�านวน 9 หมู่บ้าน โดยจะ
                  ในการจัดการป่ากันชนที่เหมาะสม  เพื่อน�าไปสู่ความ  จัดแบ่งออกเป็น 3 โซนคือ โซนตอนเหนือ โซนตอน
                  ยั่งยืนของทรัพยากรป่าไม้ที่เป็นเป้าหมายของการ  กลางและโซนตอนใต้  ของพื้นที่ในแนวเขตป่ากันชน
                  จัดการป่าไม้                                 ซึ่งในแต่ละโซนมีหมู่บ้านตัวอย่างจ�านวน  3  หมู่บ้าน

                         กรอบแนวคิดในการวิจัย  คือ  1)  ตัวแปรอิสระ  ที่ประกอบด้วยหมู่บ้านที่มีขนาดใหญ่ ขนาดกลางและ
                  ได้แก่  ระดับการศึกษา  อาชีพหลัก  การมีอาชีพรอง    ขนาดเล็ก  จากการสุ่มเลือกหมู่บ้านตัวอย่างปรากฏว่า
                  จ�านวนสมาชิกในครัวเรือน  ขนาดพื้นที่ถือครอง  รายได้  หมู่บ้านที่ได้รับเลือกส�าหรับการศึกษาครั้งนี้ของโซน
                  ของครัวเรือน  และการเข้าร่วมกิจกรรมการอนุรักษ์  เหนือได้แก่หมู่บ้านนาแวน หมู่บ้านปากซอง หมู่บ้าน

                  ทรัพยากรป่าไม้  และ  2)  ตัวแปรตามได้แก่  การพึ่งพิง  วังค�า เขตโซนกลาง ได้แก่ หมู่บ้านนาอูม หมู่บ้านนากอง
                  ทรัพยากรป่าไม้ของราษฎรที่อาศัยอยู่รายรอบป่ากันชน  หมู่บ้านนาคะยาง และเขตโซนใต้ ได้แก่ หมู่บ้านนาม่วง
                  ของป่าสงวนแห่งชาติน�้าปุ๋ย  ได้แก่  ไม้ฟืน  ไม้  ไม้ไผ่    หมู่บ้านนาเปย  และหมู่บ้านแค่น  มีจ�านวนครัวเรือน
                  พืชสมุนไพร  ผลไม้  หน่อไม้  หวายเส้น  เห็ด  พืชผัก    ทั้งหมด  520  ครัวเรือน    ก�าหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง
                  และแมลงกินได้                                (sample size)   ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์
                         สมมติฐานการวิจัยในครั้งนี้  คือ  ระดับการ  สัมประสิทธิ์การแปรผันเท่ากับ  0.05  และความ

                  ศึกษา  อาชีพหลัก  การมีอาชีพรอง  จ�านวนสมาชิกใน  คลาดเคลื่อนของการสุ่มตัวอย่างเท่ากับ  0.05  โดยใช้
                  ครัวเรือน  ขนาดพื้นที่ถือครอง  รายได้ของครัวเรือน    สูตรของ Yamane (1973) ได้จ�านวนครัวเรือนตัวอย่าง
                  และการเข้าร่วมกิจกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้  ที่ศึกษาจ�านวน 226 ครัวเรือนและใช้สูตรการกระจาย
                  ของราษฎรที่ต่างกันท�าให้ราษฎรมีการพึ่งพิงทรัพยากร  ตามสัดส่วน  (สุบงกช,  2526)  เพื่อให้เกิดการกระจาย

                  ป่าไม้แตกต่างกัน                             ของกลุ่มตัวอย่างในการเก็บข้อมูลใน 9 หมู่บ้าน

                            อุปกรณ์และวิธีการ                  การวิเคราะห์ข้อมูล

                                                                      น�าเอาข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามทั้งหมด
                  การเก็บรวบรวมข้อมูล                          226  ชุดมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติอย่างง่าย  ได้แก่
                         1.  ข้อมูลทุติยภูมิ (secondary data) เป็นข้อมูล  ค่าร้อยละ  (percentage)  ค่าเฉลี่ย  (mean)  ค่าต�่าสุด
                  ที่ใช้ประกอบในการศึกษา  ซึ่งได้จากการค้นคว้าและ  (minimum) ค่าสูงสุด (maximum) ใช้สถิติ t-test กับ
                  เก็บรวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ  ตัวแปรอิสระที่แบ่งออกเป็น  2  กลุ่มและ  F-test  กับ

                  ป่ากันชนของป่าสงวนแห่งชาติน�้าปุ๋ย  รวมทั้งผลงาน  ตัวแปรอิสระที่แบ่งตั้งแต่ 3 กลุ่มขึ้นไปโดยก�าหนด
                  วิจัยที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา                นัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45