Page 35 -
P. 35
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 31 (3) : 25-35 (2555) 33
์
ที่สะสมจะต้องสูงกว่าค่าที่ประมาณได้นี้อย่างแน่นอน ช่วงระยะเวลาการพักพื้นที่ที่นานพอเหมาะ
โดยที่ต้องมีมาตรการป้องกันไฟอย่างเข้มข้นในพื้นที่ จะช่วยให้การปลดปล่อยคาร์บอนระหว่างการเผาและ
ส�าหรับไร่หมุนเวียนรอบสั้น Metzger (2003) พบว่า การสะสมในช่วงพักพื้นที่มีความสมดุลมากกว่าพื้นที่
การลดลงของช่วงระยะพักพื้นที่ จาก 10 เป็น 4 ปี การเกษตรที่มีระยะพักพื้นที่สั้น ความร้อนจากการ
ในประเทศบราซิล มีผลต่อการลดลงของความหลากหลาย สุมกองแล้วเผาส่งผลอย่างมากต่อปริมาณคาร์บอนในดิน
ของชนิดพันธุ์พืชที่ขึ้นทดแทน มีแนวโน้มไปสู่ลักษณะ หากสามารถลดการสุมกองแล้วเผาในพื้นที่จะช่วยลด
ที่เป็น homogeneity structure มากขึ้น ซึ่งอาจมีผลกระทบ การสูญเสียคาร์บอนจากดินลงได้บ้าง ส�าหรับไร่ร้าง
ต่ออัตราการสะสมคาร์บอน เนื่องจากในช่วง 1 - 2 ปีแรก ที่เพิ่งเริ่มมีการฟื้นฟูของระบบนิเวศ (อายุ 2 - 3 ปี) ซึ่งมี
ต้นไม้ที่เกิดขึ้น จะมีการแข่งขันดูดซับธาตุอาหารและ ลักษณะของสังคมพืชใกล้เคียงกับไร่หมุนเวียนรอบสั้น
ปัจจัยสิ่งแวดล้อมอื่นๆ เพื่อการเจริญเติบโต การจัดแบ่ง อาจคาดการณ์ได้ว่าหากเกิดไฟไหม้ในพื้นที่เหล่านี้จะ
ชั้นเรือนยอดยังไม่เด่นชัด เมื่อเปรียบเทียบกับไร่หมุนเวียน ส่งผลต่อการสูญเสียคาร์บอนที่เป็นสัดส่วนที่สูงเช่นกัน
รอบยาวหรือไร่ร้างซึ่งสังคมพืชมีการแก่งแย่งลดลง ดังนั้นไร่ร้างที่เพิ่งเริ่มมีการฟื้นฟูระบบนิเวศจะต้องได้
เนื่องจากเริ่มจะมีการจัดชั้นเรือนยอด มีชนิดไม้ที่มี รับการดูแลป้องกันไฟอย่างเข้มข้นเพื่อให้ระบบนิเวศ
ความต้องการทางนิเวศ (ecological niche) ที่แตกต่าง นั้นสามารถเป็นแหล่งเก็บกักคาร์บอนที่ส�าคัญต่อไป
กันขึ้นผสมกัน ส่งผลให้การเก็บกักคาร์บอนมีประสิทธิภาพ
ดีกว่า ค�านิยม
สรุป ขอขอบพระคุณส�านักงานคณะกรรมการ
วิจัยแห่งชาติที่ได้ให้การสนับสนุนการวิจัยประจ�าปี
การสะสมของคาร์บอนในช่วงพักพื้นที่มีค่า งบประมาณ 2551 ขอขอบพระคุณเจ้าหน้าที่อุทยาน
สูงที่สุดในไร่ร้าง รองลงมาได้แก่ไร่หมุนเวียนรอบยาว แห่งชาติดอยภูคา สถานีควบคุมไฟป่าจังหวัดน่านและ
และต�่าที่สุดในไร่หมุนเวียนรอบสั้น โดยคาร์บอนที่ เจ้าหน้าที่มูลนิธิโครงการแคร์ จังหวัดน่าน ทุกท่านที่
สะสมในไร่ร้างไม่ได้รวมไม้ยืนต้นในการค�านวณ ทั้งไร่ ได้ให้ความช่วยเหลือและอ�านวยความสะดวกตลอด
หมุนเวียนรอบสั้นและไร่หมุนเวียนรอบยาวมีสัดส่วน การเก็บข้อมูลในพื้นที่ ขอขอบพระคุณ ผู้ใหญ่บ้าน
การสะสมคาร์บอนใต้ดินสูงกว่าส่วนที่อยู่เหนือพื้นดิน และเจ้าของพื้นที่ศึกษาบ้านหนองน่าน ต�าบลบ่อเกลือใต้
การเผาไร่ร้างท�าให้มีการสูญเสียคาร์บอนสัมพัทธ์ต�่า อ�าเภอบ่อเกลือ และผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านและเจ้าของพื้นที่
ที่สุดในขณะที่ไร่หมุนเวียนรอบยาวและรอบสั้นมี ศึกษาบ้านน�้าย้อ อ�าเภอปัว จังหวัดน่าน ที่ได้ให้ความ
สัดส่วนการสูญเสียคาร์บอนใกล้เคียงกัน คาร์บอนที่ อนุเคราะห์ท�าการศึกษาวิจัยในไร่หมุนเวียนด้วยดี
สูญเสียจากการเผาส่วนใหญ่นั้นมาจากส่วนที่อยู่เหนือ ขอขอบพระคุณ ศ.ดร. พงษ์ศักดิ์ สหุนาฬุ ที่ได้กรุณา
พื้นดิน โดยมีแนวโน้มอัตราการฟื้นกลับมาของคาร์บอน ให้ค�าแนะน�าในการวางแผนการศึกษาวิจัยในครั้งนี้
ในระยะเวลา 6 เดือนในพื้นที่ไร่ร้างและไร่หมุนเวียน คณะผู้วิจัยขอขอบพระคุณคณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัย
รอบยาวประมาณ 0.5 ตันต่อเฮกแตร์ต่อเดือน ในขณะที่ เกษตรศาสตร์ ที่ได้ให้ความอนุเคราะห์ยานพาหนะ
ไร่หมุนเวียนรอบสั้นมีแนวโน้มการฟื้นกลับของคาร์บอน และอ�านวยความสะดวกในการด�าเนินการวิจัย และ
ที่ยังไม่ชัดเจน ดังนั้นการท�าการเกษตรแบบไร่หมุนเวียน ขอขอบคุณนิสิตและบุคลากรคณะวนศาสตร์ทุกท่าน
รอบยาวที่มีระยะเวลาพักพื้นที่นานเพียงพออาจจะช่วย ที่ได้มีส่วนร่วมในการด�าเนินการศึกษาวิจัยในครั้งนี้
รักษาสมดุลระหว่างการปลดปล่อยและการเก็บกัก ให้ส�าเร็จลุล่วงลงได้
คาร์บอนได้ดีกว่าพื้นที่ไร่หมุนเวียนรอบสั้น