Page 39 -
P. 39
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 31 (3) : 36-44 (2555) 37
์
differences in people depending on forest resource in buffer zone of Nam Pui National
Reserved Forest with the significance level of 0.05. Thus, the relevant government officers
should employ the obtained information as a guideline for formulating the appropriate
management plan of this National Reserved Forest.
Keywords: dependency, forest, buffer zone
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพเศรษฐกิจ และสังคม การพึ่งพิงทรัพยากรป่าไม้และปัจจัยที่
มีผลต่อการพึ่งพิงทรัพยากรป่าไม้ของราษฎรที่อาศัยอยู่รอบป่ากันชนของป่าสงวนแห่งชาติน�้าปุ๋ย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้
ในการวิจัย คือ ราษฎรที่อาศัยอยู่รอบป่ากันชนของป่าสงวนแห่งชาติน�้าปุ๋ย จ�านวน 226 คน เครื่องมือที่ใช้ในการ
วิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าต�่าสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน t-test และ F-test ก�าหนดค่านัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ผลการวิจัย พบว่า ราษฎรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 41.04 ปี ส่วนใหญ่มีเผ่าพันธุ์เป็นลาวลุ่ม จบการ
ศึกษาระดับชั้นประถม อาชีพหลักท�านา ร้อยละ 65.93 มีอาชีพรอง ระยะเวลาการตั้งถิ่นฐาน เฉลี่ย 37.02 ปี มีที่ดิน
ถือครองเฉลี่ย 13.53 ไร่ มีรายได้เฉลี่ย 73,996.46 บาทต่อปี รายจ่ายเฉลี่ย 44,505.31 บาทต่อปี ราษฎรร้อยละ
95.54 ได้รับข้อมูลข่าวสารในการอนุรักษ์จากเจ้าหน้าที่ของรัฐ ร้อยละ 98.23 เข้าร่วมกิจกรรมในการอนุรักษ์ ทรัพยากร
ป่าไม้ที่ราษฎรพึ่งพิง ได้แก่ ฟืน ไม้ ไผ่ พืชสมุนไพร ผลไม้ หน่อไม้ หวาย เห็ด และแมลงกินได้ โดยมีมูลค่า
เท่ากับ 5,880,007.28 บาท
การทดสอบสมมติฐานพบว่าระดับการศึกษา อาชีพหลัก การมีอาชีพรอง จ�านวนสมาชิกในครัวเรือน
ขนาดพื้นที่ที่ถือครอง รายได้ของครัวเรือน และการเข้าร่วมกิจกรรมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ของราษฎรต่างกัน
มีการพึ่งพิงทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่กันชนของป่าสงวนแห่งชาติน�้าปุ๋ยแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ
0.05 เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องสามารถน�าข้อมูลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้ไปใช้ในการวางแผนในการจัดการพื้นที่ป่ากันชน
ของป่าสงวนแห่งชาติน�้าปุ๋ยได้
ค�าส�าคัญ: การพึ่งพิง ป่าไม้ ป่ากันชน
ค�าน�า
ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2536 มีเนื้อที่ทั้งหมด 32,189 เฮกแตร์
ป่าไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่อ�านวย (กรมป่าไม้, 2536) ครอบคลุมเนื้อที่สามเมืองคือ
ประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อมแก่สังคมส่วนรวม เมืองเพียง เมืองปากลาย และเมืองท่งมีไซ ปัจจุบัน
ในการพัฒนาประเทศของสาธารณรัฐประชาธิปไตย ป่ากันชนดังกล่าวมีการใช้ประโยชน์จากการลักลอบ
ประชาชนลาว (สปป.ลาว) ที่ผ่านมานั้นอยู่บนพื้นฐาน ตัดไม้ เก็บของป่าและล่าสัตว์จากราษฎรที่ไม่มีงานท�า
ของการน�าเอาทรัพยากรป่าไม้มาใช้ประโยชน์อย่าง และในขณะเดียวกันภาครัฐมีการส่งเสริมให้ราษฎร
ฟุ่มเฟือย และการเพิ่มขึ้นของประชากรท�าให้มีการขยาย ปลูกพืชเศรษฐกิจท�าให้มีการขยายพื้นที่ท�าการเกษตร
และจับจองพื้นที่ป่าไม้เพื่อท�าการเกษตรท�าให้เนื้อที่ และท�าไร่เลื่อนลอยเพิ่มขึ้น ท�าให้เกิดปัญหาความขัดแย้ง
ป่าไม้ลดลง (ภูเวียง, 2548) ระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐกับราษฎรในพื้นที่ ดังนั้น
ป่ากันชนของป่าสงวนแห่งชาติน�้าปุ๋ย ได้ก่อตั้ง แผนกกสิกรรมและป่าไม้แขวง ได้จัดแบ่งพื้นที่เขต