Page 30 -
P. 30

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์




                  28                         Thai J. For. 31 (3) : 25-35 (2012)



                  การเก็บข้อมูลก่อนการเผาพื้นที่               80  องศาเซลเซียส  เป็นเวลาอย่างน้อย  48  ชั่วโมง

                         ในแต่ละแปลง  วางแปลงย่อยขนาด  1  ×  1    ค�านวณค่าเปอร์เซ็นต์ความชื้นและปริมาณมวลชีวภาพ
                  เมตร  จ�านวน  4  แปลง  กระจายแบบสุ่มทั่วพื้นที่  ตัดชั่ง  ตัวอย่างบางส่วนน�ามาวิเคราะห์หาปริมาณคาร์บอน
                  น�้าหนักสดเชื้อเพลิงตามประเภทของพืช (หญ้า พืชล้มลุก    โดยการบดตัวอย่างให้ละเอียด ตัวอย่างดินน�ามาตากแห้ง
                  ไม้พุ่ม  ไม้หนุ่มและลูกไม้  และเศษซากพืช)  และวาง  ร่อนผ่านตะแกรงที่มีรูขนาด 2 มิลลิเมตร และแยกส่วน
                  แปลงขนาด  5  ×  5  เมตร  จ�านวน  3  แปลง  เพื่อตัดชั่ง  ที่เป็นรากมาบดให้ละเอียด  เพื่อใช้ในการวิเคราะห์หา
                  น�้าหนักสดของไม้ใหญ่  (dbh>4.5  เซนติเมตร)  ยกเว้น  ปริมาณคาร์บอนต่อไป  รากบางส่วนน�าไปอบแห้ง
                  ในแปลงไร่ร้าง  ท�าการสุ่มตัวอย่างพืชแต่ละประเภท  เพื่อค�านวณหาปริมาณมวลชีวภาพ ตัวอย่างดินที่เก็บแบบ
                  เพื่อน�าไปค�านวณปริมาณมวลชีวภาพ    และปริมาณ  ไม่ท�าลายโครงสร้างน�าไปหาค่าความหนาแน่นรวมของ
                  คาร์บอน จากนั้นเก็บตัวอย่างดิน จ�านวน 4 จุด ในบริเวณ  ดินโดยน�าไปอบแห้ง  ชั่งน�้าหนักแห้งเพื่อค�านวณความ
                  ที่เก็บเชื้อเพลิง  โดยใช้  soil  core  ทั้งแบบไม่ท�าลาย  หนาแน่นรวมของดิน  วิเคราะห์เปอร์เซ็นต์คาร์บอน
                  โครงสร้าง (undisturbed sample) และท�าลายโครงสร้าง    (carbon  content)  ในตัวอย่างดิน  พืชและเถ้าถ่านโดย

                  (disturbed  sample)  โดยเก็บตัวอย่างดินที่ระดับความลึก    ใช้เครื่อง  CN  Corder  MT-700  (Yanaco)
                  0 - 5,  5 - 15  และ  15 - 30  เซนติเมตร             ปริมาณเชื้อเพลิงที่ถูกเผาทั้งหมดได้จากการ
                                                               น�าค่าปริมาณเชื้อเพลิงก่อนเผาลบด้วยสิ่งที่หลงเหลือ
                  การเก็บข้อมูลระหว่างการเผาและภายหลังการเผา   ภายหลังการเผา  (ขี้เถ้า  ถ่าน  ส่วนที่ถูกเผาไหม้บางส่วน

                         ท�าการเผาแปลงทดลองช่วงปลายเดือน       ที่หลงเหลือในพื้นที่)  ค�านวณหาปริมาณคาร์บอนใน
                  กุมภาพันธ์ - มีนาคม  พ.ศ.  2552  โดยเกษตรกรเจ้าของ  เชื้อเพลิง  ส่วนที่เหลือภายหลังการเผา  ดินและราก
                  พื้นที่และเจ้าหน้าที่สถานีควบคุมไฟป่าจังหวัดน่าน    ปริมาณคาร์บอนที่สูญหายไปจากการเผาได้จากการน�า
                  ภายหลังเผาเสร็จทันที  ได้ท�าการเก็บขี้เถ้า  ถ่าน  และ  ปริมาณคาร์บอนก่อนเผาในดินและพืชลบด้วยปริมาณ
                  ส่วนที่ไม่ไหม้ไฟในแปลงขนาด  50 × 50  เซนติเมตร    คาร์บอนทั้งหมดที่หลงเหลืออยู่ภายหลังการเผา  จากนั้น
                  จ�านวน  4  แปลง  ด้วยเครื่องดูดฝุ่นซึ่งสามารถดูดขี้เถ้า  วิเคราะห์ความแตกต่างของค่าความแปรปรวนทางสถิติ
                  ส่วนใหญ่ได้  ในขณะที่อาจมีผงเศษดินติดขึ้นมาบ้างซึ่ง  (Analysis of Variance; ANOVA) ของปริมาณคาร์บอน
                  ต้องท�าการแยกออกไปโดยการใช้ตะแกรงร่อนและ     เปรียบเทียบระหว่างพื้นที่ หากมีความแตกต่างทางสถิติ
                  การแยกด้วยสายตา ในขณะที่ส่วนที่ไม่ไหม้ไฟจะถูกเก็บ  จะท�าการวิเคราะห์หาความแตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญ
                  โดยการตัด ชั่งน�้าหนักสิ่งที่เก็บได้และน�ากลับไปวิเคราะห์  ต่อไปโดยใช้  Duncan’s  new  multiple  range  test
                  หาน�้าหนักแห้งและปริมาณคาร์บอน ท�าการสุ่มตัวอย่าง  ซึ่งค�านวณโดยใช้โปรแกรมสถิติส�าเร็จรูป
                  ดินทันทีภายหลังเผา  4  จุด  ที่ระดับความลึกเพียง  0 - 5
                  และ  5 - 15  เซนติเมตร  เท่านั้น  เนื่องจากโดยทั่วไป     ผลและวิจารณ์
                  ไฟจะไม่ส่งผลกระทบต่อดินที่อยู่ในระดับลึก  (DeBano

                  et  al.,  1998)  เก็บตัวอย่างพืช  ขี้เถ้าและดินภายหลังเผา  ปริมาณคาร์บอนในส่วนต่างๆ  ก่อนการเผา
                  ที่ระยะเวลา  1,  3  และ  6  เดือน  ภายหลังการเผาด้วย  (ช่วงพักพื้นที่)
                  วิธีการเช่นเดียวกับการเก็บข้อมูลก่อนการเผา          ปริมาณเชื้อเพลิงทั้งหมดที่ถูกตัดฟันลงก่อน
                                                               การเผาเพื่อเตรียมพื้นที่ในไร่หมุนเวียนรอบสั้นและไร่
                  การวิเคราะห์ปริมาณเชื้อเพลิง  เศษที่หลงเหลือ  หมุนเวียนรอบยาวแสดงใน  Table  1  ส�าหรับปริมาณ

                  ภายหลังการเผาและการวิเคราะห์คาร์บอน          เชื้อเพลิงเฉพาะในส่วนของไม้พื้นล่าง (ไม่รวมไม้ยืนต้น
                         ท�าการอบแห้งตัวอย่างพืชและเถ้าถ่าน ที่อุณหภูมิ    ขนาดใหญ่)  มีความแตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญระหว่าง
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35