Page 25 -
P. 25

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์




                                           วารสารวนศาสตร 31 (3) : 15-24 (2555)                      23
                                                           ์


                                   สรุป                        ส�าหรับ แคลเซียม ไนโตรเจน แมกนีเซียม โพแตสเซียม
                                                               และฟอสฟอรัส  นั้นมีปริมาณของสารอาหารเท่ากับ

                         จากการศึกษามวลชีวภาพ  และปริมาณการ    2.09,  0.87,  0.79,  0.45  และ  0.09  ตันต่อเฮกแตร์ต่อปี
                  ร่วงหล่นของซากพืช  ในป่าชายเลนชุมชนบ้านเปร็ดใน    ตามล�าดับ
                  จังหวัดตราด  ได้ผลการทดลองดังนี้
                         1.  ชนิดพรรณไม้    ประกอบด้วยไม้ยืนต้น                ค�านิยม
                  จ�านวน  10  ชนิด  ไม้รุ่นจ�านวน  9  ชนิด  และกล้าไม้
                  จ�านวน 4 ชนิด ความหลากชนิดของพรรณไม้มีค่าเท่ากับ       การศึกษาผลผลิตมวลชีวภาพ  และปริมาณ

                  0.56  มีความหนาแน่นของไม้ยืนต้น  ไม้รุ่นและกล้าไม้    การร่วงหล่นของซากพืช  ในป่าชายเลนชุมชนบ้าน
                  เท่ากับ 2,977.78 7,222.22 และ 8,333.33 ต้นต่อเฮกแตร์    เปร็ดใน จังหวัดตราด ได้รับทุนในการท�าวิทยานิพนธ์
                  ตามล�าดับ  ดัชนีความส�าคัญของพรรณไม้  สูงที่สุดคือ    จาก  ASEAN-Korea  Environmental  Cooperation
                                                               Project (AKECOP)
                  โปรงแดง  (C.  tagal)  มีค่าเท่ากับ  86.55  น้อยที่สุดมี
                  ด้วยกัน  2  ชนิด  คือ  ฝาดดอกแดง  (L.  littorea)  และ    เอกสารและสิ่งอ้างอิง
                  แสมขาว  (A.  alba)  มีค่าเท่ากับ  8.49
                         2. การเติบโตทางด้านความสูงเฉลี่ย  เท่ากับ    กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง.  2551.  ความหลาก
                  7.40  เมตร  เส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอกเฉลี่ย  เท่ากับ       ชนิดของพรรณไม้ทางชีวภาพในป่าชายเลน
                  9.31  เซนติเมตร  พรรณไม้ที่มีความสูงมากที่สุด  คือ       ภาคใต้ตอนบน.  พิมพ์ครั้งที่  2.  กรมทรัพยากร

                  แสมขาว  มีความสูงเท่ากับ  9  เมตร  ส่วนพรรณไม้ที่มี     ทางทะเลและชายฝั่ง.  กรุงเทพฯ.
                  เส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอกมากที่สุดคือ ล�าแพน มีเส้นผ่าน  ทัศนีย์  อัตตะนันท์  และจงรักษ์  จันทร์เจริญสุข.  2542.
                  ศูนย์กลางเพียงอก  เท่ากับ  11.26  เซนติเมตร  จะเห็น     แบบฝึกหัดและคู่มือปฏิบัติการ  การวิเคราะห์
                  ได้ว่า ล�าแพน (S.  ovata) และแสมขาว (A.  alba) นั้นมี     ดินและพืช.  ภาควิชาปฐพีวิทยา  คณะเกษตร
                  ขนาดค่อนข้างใหญ่ทั้งนี้เป็นผลเนื่องมาจากเป็นต้นไม้     มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,  กรุงเทพฯ.
                  เดิมที่มีอยู่ในแปลงก่อนที่จะมีการฟื้นฟูพื้นที่  ส่วนต้น  ธงชัย  จารุพพัฒน์  และจิรวรรณ  จารุพพัฒน์.  2540.

                  ที่มีขนาดล�าต้นเล็กนั้นส่วนมากเป็นต้นไม้ที่ได้มีการ     การใช้ภาพถ่ายดาวเทียม  Lansat-5  (TH)
                  ปลูกเสริมเข้ามาภายหลัง                              ในการติดตามสภาพความเปลี่ยนแปลงพื้นที่
                         3.  ผลผลิตมวลชีวภาพพบว่า  โปรงแดง  มีมวล       ป่าชายเลนของประเทศไทย.  ส�านักวิชาการ
                                                                      ป่าไม้.  กรมป่าไม้,  กรุงเทพฯ.
                  ชีวภาพรวมมากที่สุด  คือ  113.70  ตันต่อเฮกแตร์  นันทวรรณ  ประเสริฐ.  2544.  ลักษณะโครงสร้างและ
                  โดยโปรงแดง    มีผลผลิตมวลชีวภาพมากที่สุดเท่ากับ       การหมุนเวียนสารอาหารในป่าชายเลน บริเวณ
                  44.85 ตันต่อเฮกแตร์ รองลงมาคือโกงกางใบเล็ก เท่ากับ       โครงการจัดการน�้าเสีย จังหวัดสมุทรปราการ.
                  41.05  ตันต่อเฮกแตร์                                วิทยานิพนธ์ปริญญาโท,  มหาวิทยาลัยเกษตร
                         4. อัตราการร่วงหล่นของซากพืชเท่ากับ  8.75       ศาสตร์.
                  ตันต่อเฮกแตร์ต่อปี  โดยมีปริมาณการร่วงหล่นมากที่สุด  บ�ารุง  คูหา.  2526.  ผลผลิตและอัตราการสลายตัวของ

                  ในเดือนพฤศจิกายน  ความเข้มข้นของสารอาหารใน          ซากพืชในป่าชายเลนบริเวณใกล้พื้นที่ท�า
                  ซากพืชที่ร่วงหล่นที่มีปริมาณมากที่สุด  คือ  แคลเซียม     เหมืองแร่  และป่าชายเลนธรรมชาติ  จังหวัด
                  และ  ที่มีปริมาณน้อยที่สุด  คือ  ฟอสฟอรัส  ปริมาณ     ระนอง. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท,  มหาวิทยาลัย
                  สารอาหารที่สูญเสียเนื่องจากการร่วงหล่นเป็นซากพืช       เกษตรศาสตร์.
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30