Page 20 -
P. 20
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
18 Thai J. For. 31 (3) : 15-24 (2012)
IVI = RD + RF + RD 2.3 ความเด่นสัมพัทธ์ของพรรณไม้แต่ละชนิด (Relative
o
Dominance : RD )
2.1 ความหนาแน่นสัมพัทธ์ของพรรณไม้แต่ละชนิด o
(Relative Density : RD) พื้นที่หน้าตัดของพรรณไม้ชนิดนั้น
RD = x 100
o พื้นที่หน้าตัดรวมของพรรณไม้ทุกชนิด
จ�านวนต้นของพรรณไม้ชนิดนั้น
RD = x 100
จ�านวนต้นไม้ทั้งหมดทุกชนิด 3.การประมาณมวลชีวภาพ ใช้วิธีการประเมินจาก
สมการ allometric equation โดยจ�าแนกตามชนิด
2.2 ความถี่สัมพัทธ์ของพรรณไม้แต่ละชนิด (Relative พรรณไม้ตามสมการ ซึ่งกรมทรัพยากรทางทะเลและ
Frequency : RF) ชายฝั่ง (2551) ได้รายงานไว้ โดยการใช้ข้อมูลความโต
และความสูงของต้นไม้ที่วัดได้มาแทนค่าในสมการ
ความถี่ของพรรณไม้ชนิดนั้น แล้วจึงท�าการประเมินมวลชีวภาพของต้นไม้ต่อหน่วย
RF = x 100
ความถี่รวมของพรรณไม้ทุกชนิด พื้นที่
4. การประเมินปริมาณสารอาหารแต่ละชนิดใน
ซากพืชโดยค�านวณจาก
ปริมาณสารอาหารในซากพืชชนิด A = ความเข้มข้นของสารอาหารในซากพืช x มวลชีวภาพของซากพืช
ผลและวิจารณ์ ศึกษามีน้อยกว่าพื้นที่ใกล้เคียงตัวอย่างเช่น Aksornkoae
(1976) พบพรรณไม้ป่าชายเลนในท้องที่ อ�าเภอขลุง
ชนิดของพรรณไม้ จังหวัดจันทบุรี จ�านวน 33 ชนิด และ จากการศึกษา
ชนิดพรรณไม้ยืนต้นที่พบในพื้นที่ท�าการ ของมุ่งรักษ์ (2550) พบพรรณไม้ป่าชายเลนใน อ�าเภอ
ศึกษามีไม้ใหญ่จ�านวน10 ชนิด ได้แก่ โกงกางใบเล็ก แหลมงอบ จังหวัดตราด จ�านวน 35 ชนิด การที่
(Rhizophora apiculata) โกงกางใบใหญ่ (R. mucronata) พรรณไม้ในพื้นที่ป่าชายเลนชุมชนบ้านเปร็ดในมี
ตาตุ่มทะเล (Excoecaria agallocha) ถั่วขาว (Bruguiera น้อยกว่าพื้นที่ใกล้เคียงเนื่องจาก เป็นป่าที่เกิดจากการ
ฟื้นฟูพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมจากการบุกรุกเพื่อน�าไปท�า
cylindrica) โปรงแดง (Ceriops tagal) ฝาดดอกขาว นากุ้ง และภายหลังจึงได้มีการปลูกเสริมโดยใช้กล้าไม้
(Lumnitzera racemosa) ฝาดดอกแดง (L. littorea) ล�าแพน ในพื้นที่ จึงท�าให้จ�านวนชนิดพรรณไม้มีน้อยโดยเฉพาะ
(Sonneratia ovate) แสมขาว (Avicennia alba) และ อย่างยิ่งจ�านวนชนิดของกล้าไม้
แสมทะเล (A. marina) ไม้รุ่นจ�านวน 9 ชนิด ได้แก่
โกงกางใบเล็ก (R. apiculata) โกงกางใบใหญ่ (R. ความหลากชนิดของพรรณไม้
mucronata) ตะบูนขาว (Xylocarpus granatum) ตะบูนด�า จากการค�านวณค่าดัชนีความหลากชนิด
(X. moluccensis) ตาตุ่มทะเล (E. agallocha) ถั่วขาว ของพรรณไม้โดยวิธี Shannon-Wiener Index พบว่า
(B. cylindrica) โปรงแดง (C. tagal) สมอทะเล (Sapium ป่าชายเลนชุมชนบ้านเปร็ดในมีค่าความหลากชนิด
indicum) และแสมทะเล (A. marina) และกล้าไม้ ของพรรณไม้เท่ากับ 0.56 แสดงให้เห็นว่าพื้นที่ศึกษา
จ�านวน 4 ชนิด ได้แก่ โกงกางใบเล็ก (R. apiculata) แห่งนี้มีความหลากชนิดของพรรณไม้ค่อนข้างต�่า เพราะ
โกงกางใบใหญ่ (R. mucronata) ถั่วขาว (B. cylindrica) พรรณไม้ในแต่ละชนิดมีจ�านวนที่แตกต่างกัน อย่างไร
และโปรงแดง (C. tagal) จ�านวนพรรณไม้ที่พบในพื้นที่ ก็ตามค่าดัชนีความหลากชนิดของพรรณไม้ในพื้นที่