Page 21 -
P. 21
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 31 (3) : 15-24 (2555) 19
์
ป่าชายเลนชุมชนบ้านเปร็ดในมีค่ามากกว่าในพื้นที่ป่า คือ โกงกางใบเล็ก (R. apiculata) มีค่าความหนาแน่น
ชายเลนฝั่งขวาปากแม่น�้าเพชรบุรี ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.44 เท่ากับ 1,222.22 ต้นต่อเฮกแตร์ ในบริเวณที่มีไม้
(ประธาน, 2548) Shimwell (1971) ได้กล่าวว่าค่าดัชนี ยืนต้นขึ้นอยู่อย่างหนาแน่นจะพบไม้รุ่นจ�านวนน้อย
ความหลากชนิดของพรรณไม้นั้น เป็นการรวมค่าความ เนื่องจากไม้ยืนต้นมีเรือนยอดปกคลุมติดต่อกันตลอด
สม�่าเสมอ และความมากมายของชนิดพรรณเข้าด้วยกัน พื้นที่ ท�าให้ไม้รุ่นไม่สามารถแก่งแย่งอาหารและ
ดังนั้นถ้าชนิดพรรณแต่ละชนิดมีจ�านวนใกล้เคียงกัน แสงสว่างเพื่อใช้ในการเติบโต แต่จะพบไม้รุ่นในบริเวณ
ค่าดัชนีความหลากชนิดของพรรณไม้จะมีค่าสูง แต่ถ้า ที่ไม่มีไม้ยืนต้นปกคลุมหรือ มีการกระจายของไม้ยืนต้น
จ�านวนในแต่ละชนิดพรรณแตกต่างกันมากค่านี้จะต�่า น้อยเท่านั้น ในอนาคตข้างหน้าหากไม่มีการจัดการทาง
วนวัฒนวิทยาสังคมป่าแห่งนี้คาดว่าจะยังคงมี ความ
ความหนาแน่นของพรรณไม้ คล้ายคลึงกับสังคมป่าในปัจจุบันคือมี โปรงแดง
1. ความหนาแน่นของไม้ยืนต้น (C. tagal) เป็นองค์ประกอบหลัก และรองลงมาคือ
พรรณไม้ยืนต้นบริเวณป่าชายเลนชุมชน โกงกางใบเล็ก (R. apiculata) เนื่องจากไม่มีกล้าไม้
บ้านเปร็ดใน มีความหนาแน่นของพรรณไม้ทุกชนิด ชนิดอื่นสามารถแทรกขึ้นได้ในพื้นที่
รวมเท่ากับ 2,977.78 ต้นต่อเฮกแตร์ พรรณไม้ที่มีความ ส�าหรับกล้าไม้มีจ�านวนเพียง 4 ชนิด ความ
หนาแน่นมากที่สุดคือ โปรงแดง (C. tagal) มีความ หนาแน่นของกล้าไม้ทุกชนิดรวมกันเท่ากับ 8,333.33
หนาแน่น 1,500 ต้นต่อเฮกแตร์ รองลงมาคือ โกงกาง ต้นต่อเฮกแตร์ เมื่อพิจารณาแยกเป็นรายชนิดพบว่า
ใบเล็ก (R. apiculata) มีค่าความหนาแน่น 944.44 ต้น กล้าไม้ที่มีความหนาแน่นมากที่สุดคือ โปรงแดง (C. tagal)
ต่อเฮกแตร์ เมื่อเปรียบเทียบความหนาแน่นของไม้ยืนต้น มีความหนาแน่นเท่ากับ 6,111.11 ต้นต่อเฮกแตร์
กับพื้นที่ใกล้เคียงพบว่ามีค่ามากกว่า ทั้งนี้เนื่องจากป่า รองลงมาคือ ถั่วขาว (B. cylindrica) มีความหนาแน่น
ชายเลนชุมชนบ้านเปร็ดในถูกบุกรุกพื้นที่เมื่อมีการ เท่ากับ 1,111.11 ต้นต่อเฮกแตร์ จะเห็นได้ว่าในป่า
ฟื้นฟูจากมนุษย์จึงท�าให้มีต้นไม้เกิดขึ้นจ�านวนมาก ชายเลนบริเวณที่ศึกษามีโปรงแดง (C. tagal) ที่มีการ
แต่ต้นไม้มีขนาดค่อนข้างเล็กเนื่องจากหนาแน่นมาก เจริญทดแทนได้มากที่สุดและรองลงมาคือ ถั่วขาว
พิพัฒน์ (2522) ซึ่งได้ท�าการศึกษาที่ อ�าเภอเขาสมิง (B. cylindrica) โกงกางใบเล็ก (R. apiculata) และ
จังหวัดตราด พบว่า ความหนาแน่นของไม้ยืนต้นเท่ากับ โกงกางใบใหญ่ (R. mucronata) ตามล�าดับ แต่การ
2,213 ต้นต่อเฮกแตร์ ส่วนในพื้นที่อ�าเภอขลุง จังหวัด ทดแทนของกล้าไม้ของป่าชายเลนบริเวณนี้มีน้อยซึ่ง
จันทบุรี มีความหนาแน่นของไม้ยืนต้นเท่ากับ 1,644 เป็นผลเนื่องมาจากป่าชายเลนบริเวณนี้มีไม้ยืนต้นขึ้น
ต้นต่อเฮกแตร์ (Aksornkoae, 1976) อยู่อย่างหนาแน่นท�าให้ความสามารถในการงอกของ
กล้าไม้มีน้อย และเมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่แหลมงอบ
2. ความหนาแน่นของไม้รุ่นและกล้าไม้ อ�าเภอเมือง จังหวัดตราด ซึ่งมีความหนาแน่นของไม้
ในพื้นที่ป่าชายเลนชุมชนบ้านเปร็ดใน รุ่นรวมทุกชนิดในแปลงที่ 1 2 3 และแปลงที่ 4
พบไม้รุ่นจ�านวน 9 ชนิด มีความหนาแน่นของไม้รุ่น (ป่าธรรมชาติ) เท่ากับ 9,687.5 16,250 24,625 และ
ทุกชนิดรวมทั้งหมด เท่ากับ 7,222.22 ต้นต่อเฮกแตร์ 12,187.5 ต้นต่อเฮกแตร์ ตามล�าดับ ในขณะที่ความ
เมื่อพิจารณาแยกเป็นรายชนิด พบว่า ไม้รุ่นที่มีความ หนาแน่นของกล้าไม้รวมทุกชนิด มีค่าเท่ากับ 4,050
หนาแน่นมากที่สุด คือ โปรงแดง (C. tagal) มีความ 7,950 4,012.5 และ 4,650 ต้นต่อเฮกแตร์ ตามล�าดับ
หนาแน่นเท่ากับ 5,055.56 ต้นต่อเฮกแตร์ รองลงมา (มุ่งรักษ์, 2550)