Page 32 -
P. 32

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์




                  30                         Thai J. For. 31 (3) : 25-35 (2012)
























                  Figure  2  Pre-burning carbon pool (aboveground and 30-cm belowground) at long
                             swidden farm (LS), short swidden farm (SS), and rehabilitation site (RH).
                             Vertical bars show the standard error of the mean.
                  Remark:  * C pool in tree (>4.5 dbh) for RH was not included.


                         ปริมาณคาร์บอนในดินของไร่หมุนเวียนมี   การสูญเสียคาร์บอนจากการเผา
                  ค่าสูงกว่าในไร่ร้างในครั้งนี้  อาจมีสาเหตุเนื่องมาจาก     จากการศึกษา  พบว่าการเผาไม่มีผลท�าให้
                  ไร่หมุนเวียนนั้นมีการเผาพื้นที่อยู่เป็นประจ�าจึงมีเศษ  การสูญเสียคาร์บอนสัมพัทธ์  (relative  loss)  มีความ
                  ชิ้นส่วนผงถ่านตกค้างอยู่ในดินซึ่งมีความเสถียรสูง  แตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติระหว่างพื้นที่  ทั้งจาก
                  และไม่ท�าปฏิกิริยากับสารต่างๆ  ในดิน  (Zackrission    ส่วนที่อยู่เหนือพื้นดิน  และจากส่วนที่อยู่ใต้ดินที่ระดับ
                  et  al.,  1996;  Bauhus  et  al.,  2002)  Fukushima  et  al.    15  เซนติเมตร  เมื่อพิจารณาภาพรวมการสูญเสียคาร์บอน
                  (2008)  ได้ศึกษามวลชีวภาพในป่าที่ก�าลังมีการทดแทน  สัมพัทธ์รวมทั้งหมด พบว่าการเผาได้ท�าให้มีการสูญเสีย
                  ภายหลังจากการหยุดการท�าไร่เลื่อนลอยมาเป็นเวลา    คาร์บอนออกสู่บรรยากาศในช่วงร้อยละ  10 - 40  ของ
                  20 ปี แล้วพบว่ามีปริมาณมวลชีวภาพของไม้ใหญ่ประมาณ    ปริมาณคาร์บอนที่มีอยู่ในพื้นที่  ซึ่งจากการหาค่าเฉลี่ย
                  126.2  ตันต่อเฮกแตร์  ซึ่งหากน�าค่าอัตราการสะสม  การสูญเสียคาร์บอนสัมพัทธ์รวมพบว่าไร่หมุนเวียน
                  มวลชีวภาพนี้  มาประมาณมวลชีวภาพของไม้ใหญ่ใน  รอบยาวมีค่าสูงสุด  (ร้อยละ  35.5)  รองลงมาได้แก่ไร่
                  พื้นไร่ร้างในการศึกษาครั้งนี้พบว่าที่ระยะเวลาประมาณ
                  8 ปี ของการฟื้นฟูไร่ร้างจะมีมวลชีวภาพไม้ใหญ่ประมาณ    หมุนเวียนรอบสั้น  (ร้อยละ  35.1)  และไร่ร้าง  (ร้อยละ
                  50.48 ตันต่อเฮกแตร์ หรือมีอัตราการสะสมมวลชีวภาพ  20.9)  อย่างไรก็ตามปริมาณการสูญเสียคาร์บอนสัมพัทธ์
                  เท่ากับ  6.31  ตันต่อเฮกแตร์ต่อปี  ซึ่งสอดคล้องกับ  รวมจากการเผาพื้นที่ต่างๆ มีความแตกต่างกันอย่างไม่มี
                  อัตราการสะสมมวลชีวภาพ  4-20  ตันต่อเฮกแตร์ต่อปี    นัยส�าคัญทางสถิติเนื่องจากมีการแปรผันสูงโดยเฉพาะ
                  จากการศึกษาของ  Bruun  et  al.  (2009)  และเมื่อน�า  ในไร่ร้าง  (Figure  3)  คาร์บอนส่วนใหญ่สูญเสียออกไป
                  ความเข้มข้นของคาร์บอนในกล้าไม้  และไม้รุ่นจาก  จากส่วนที่อยู่เหนือพื้นดิน โดยไร่ร้างมีคาร์บอนที่สูญหาย
                  การศึกษาครั้งนี้  (ร้อยละ  46.9)  ก็จะพบว่าจะมีปริมาณ  ไปจากส่วนเหนือพื้นดินประมาณร้อยละ  98  (10.21
                  คาร์บอนในส่วนของไม้ใหญ่ในไร่ร้างที่ศึกษาครั้งนี้  ตันต่อเฮกแตร์)  ส่วนการเผาไร่หมุนเวียนแม้จะมีสัดส่วน
                  ประมาณ  23.67  ตันต่อเฮกแตร์  เมื่อน�าไปรวมกับ  การสูญเสียคาร์บอนจากส่วนเหนือพื้นดินที่ค่อนข้างสูง
                  ปริมาณคาร์บอนในไม้พื้นล่างจะมีปริมาณคาร์บอน  (ประมาณร้อยละ  65 - 72)  แต่ก็มีสัดส่วนการสูญเสีย
                  ในไร่ร้างมากถึง  79.22  ตันต่อเฮกแตร์  ซึ่งจะท�าให้มี  จากส่วนที่อยู่ใต้ดินสูงเช่นกัน    (ร้อยละ    28  -  35)
                  ค่าสูงกว่าในไร่หมุนเวียนรอบยาว               (Figure  4)
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37