Page 48 -
P. 48
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
46 Thai J. For. 31 (3) : 45-54 (2013)
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลทางด้านเศรษฐกิจ สังคม ข้อมูลทั่วไป ระดับความคิดเห็น
และปัจจัยที่มีผลต่อความคิดเห็นในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ของราษฎรที่อยู่รายรอบพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
เขาเขียว-เขาชมภู่ จังหวัดชลบุรีโดยใช้แบบสัมภาษณ์กับราษฎรกลุ่มตัวอย่าง จ�านวน 302 ชุด และน�าข้อมูลมา
วิเคราะห์หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด ค่าต�่าสุด และทดสอบสมมติฐานโดยใช้ค่า t-test และค่า F-test ที่ระดับ
นัยส�าคัญทางสถิติ 0.05
ผลการศึกษาพบว่า ราษฎรกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชายร้อยละ 70.50 มีอายุเฉลี่ย 41.30 ปี ส่วนใหญ่
ได้รับการศึกษาระดับประถมศึกษา ส่วนใหญ่มีภูมิล�าเนาเดิมอยู่ในหมู่บ้าน โดยมีระยะเวลาในการอยู่อาศัยเฉลี่ย
30.50 ปี มีจ�านวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.30 คน ส่วนใหญ่มีอาชีพหลักรับจ้าง และไม่มีอาชีพรอง มีรายได้
และรายจ่ายของครัวเรือนเฉลี่ยต่อปี 159,818.10 บาท และ 133,062.50 บาท ตามล�าดับ มีที่ดินถือครองเฉลี่ย 4.60 ไร่
ส่วนใหญ่ไม่ได้รับข่าวสารร้อยละ 84.80 และไม่เคยเข้ารับการฝึกอบรม ร้อยละ 86.80 ที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์
ทรัพยากรป่าไม้ มีความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้อยู่ในระดับสูง
ปัจจัยที่มีผลต่อความคิดเห็นของราษฎรในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ได้แก่ ระดับการศึกษา การเข้ารับ
การฝึกอบรม และความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ดังนั้น หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องควรจัดอบรมให้
ราษฎรมีความรู้และความเข้าใจในความส�าคัญของทรัพยากรป่าไม้ เพื่อราษฎรจะได้ตระหนักเห็นคุณค่าของทรัพยากร
ป่าไม้ และเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้เพิ่มขึ้น
ค�าส�าคัญ: ความคิดเห็น การอนุรักษ์ ทรัพยากรป่าไม้ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
ค�าน�า ต่อเนื่อง แต่ในปัจจุบันการด�าเนินการด้านการป้องกัน
รักษาป่าและการปลูกฟื้นฟูสภาพป่าดังกล่าว ได้ประสบ
ในอดีตประเทศไทยมีความอุดมสมบูรณ์ของ ปัญหามาโดยตลอด สาเหตุหลักเกิดมาจากการเพิ่มขึ้น
ทรัพยากรธรรมชาติมากประเทศหนึ่งโดยในช่วงเวลา ของประชากร ท�าให้มีความต้องการที่ดินเพื่ออยู่อาศัย
ที่ผ่านมาการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ และท�ากินเพิ่มมากขึ้นเกิดการบุกรุกแผ้วถาง ยึดถือ
ได้อาศัยความได้เปรียบทางด้านทรัพยากรธรรมชาติ ครอบครองพื้นที่ป่า ทั้งป่าอนุรักษ์ ป่าเศรษฐกิจ
ที่มีอยู่มาเป็นฐานในการผลิต ส่งผลให้ประเทศไทยมี แม้กระทั่งพื้นที่สวนป่าที่ทางราชการ ได้ด�าเนินการปลูก
ความเติบโตทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับที่สูง แต่ในขณะ ฟื้นฟูสภาพป่าขึ้น และจากการที่อัตราก�าลังเจ้าหน้าที่
เดียวกันผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการผลิตก่อให้เกิดความ ของรัฐที่มีจ�านวนไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน และ
เสื่อมโทรมแก่ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่าง มุ่งเน้นวิธีการปราบปรามจับกุมผู้กระท�าความผิดมา
รวดเร็ว แม้จะมีการยกเลิกสัมปทานป่าไม้ทั่วประเทศ โดยตลอด อีกทั้งงบประมาณที่มีจ�ากัด จึงท�าให้การ
มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 แต่ก็ไม่สามารถหยุดยั้งการบุกรุก ปฏิบัติงานไม่ได้ผลเท่าที่ควร กรมป่าไม้ และกรม
ท�าลายป่าไม้ได้ ดังนั้น แนวทางและมาตรการในการ อุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ซึ่งเป็นหน่วยงาน
แก้ไขด้านการป่าไม้ จึงต้องกระท�าอย่างเร่งด่วน ไม่ว่า ที่รับผิดชอบดังกล่าว ได้มีการเปลี่ยนแปลงแผนการ
จะเป็นมาตรการในการป้องกันรักษาสภาพป่าธรรมชาติ ปฏิบัติงานใหม่โดยใช้วิธีการป้องปรามและสร้างแนวร่วม
ที่มีอยู่เดิม ทั้งในพื้นที่ป่าอนุรักษ์และพื้นที่ป่าเศรษฐกิจ ในการป้องกันรักษาป่า เพื่อให้สอดคล้องกับแผนพัฒนา
การปลูกป่าเพื่อฟื้นฟูสภาพป่าเสื่อมโทรม ซึ่งที่ผ่านมา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 -
ภาครัฐได้พยายามน�ามาตรการดังกล่าวมาปฏิบัติอย่าง 2554) ซึ่งได้ก�าหนดแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากร