Page 54 -
P. 54
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
52 Thai J. For. 31 (3) : 45-54 (2013)
ป่าไม้ที่ระดับนัยส�าคัญทางสถิติ 0.05 ได้แก่ ระดับการ ที่อยู่อาศัยรายรอบเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาเขียว -
ศึกษา การได้รับการฝึกอบรมด้านการอนุรักษ์ทรัพยากร เขาชมภู่เพื่อให้เกิดการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้เพิ่ม
ป่าไม้ และความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ มากขึ้น
ส่วนปัจจัยอื่นที่ไม่มีผลต่อความคิดเห็นในการอนุรักษ์ ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
ทรัพยากรป่าไม้ ที่ระดับนัยส�าคัญทางสถิติ 0.05 ได้แก่ จากการทดสอบสมมติฐานพบว่า ราษฎรกลุ่มตัวอย่างที่
เพศ อายุ ศาสนา จ�านวนสมาชิกในครัวเรือน อาชีพหลัก มีความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แตกต่างกัน
ระยะเวลาที่อยู่อาศัยในท้องถิ่น รายได้ของครัวเรือน มีความคิดเห็นในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แตกต่างกัน
และจ�านวนพื้นที่ถือครอง (Table 2) ที่ระดับนัยส�าคัญทางสถิติ 0.05 โดยราษฎรกลุ่มตัวอย่าง
จาก Table 2 พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความ ที่มีระดับความรู้สูงมีความคิดเห็นในการอนุรักษ์ทรัพยากร
คิดเห็นในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ มีรายละเอียด ป่าไม้สูงกว่าราษฎรที่มีระดับความรู้ต�่า ซึ่งสอดคล้องกับ
ดังนี้ ผลการศึกษาของบุญมี (2544) พบว่า ความรู้เกี่ยวกับ
ระดับการศึกษา จากการทดสอบสมมติฐาน การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้มีผลต่อความคิดเห็นของ
พบว่าราษฎรกลุ่มตัวอย่างที่มีระดับการศึกษาต่างกัน คณะกรรมการบริหารและปลัดองค์การบริหารส่วน
มีความคิดเห็นในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แตกต่างกัน ต�าบล ดังนั้น ควรมีการปลูกฝังความรู้แก่เยาวชนใน
ที่ระดับนัยส�าคัญทางสถิติ 0.05 เมื่อท�าการทดสอบเป็น การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ และเปิดโอกาสให้เยาวชน
รายคู่โดยวิธีการของ Scheffe’ ได้แบ่งระดับการศึกษา ได้ร่วมแสดงความคิดเห็น โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย
ออกเป็น 4 กลุ่ม คือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยม ผ่านสื่อที่มีคุณภาพ เพื่อกระตุ้นความสนใจของกลุ่ม
ศึกษา ระดับปวช. และปวส. และระดับปริญญาตรี และ เยาวชนและเป็นแรงจูงใจให้เกิดการอนุรักษ์ในชุมชน
ปริญญาโท พบว่า ราษฎรกลุ่มตัวอย่างที่จบการศึกษา
ระดับประถมศึกษา และระดับปวช. และปวส. มีความ สรุป
คิดเห็นในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้สูงกว่าราษฎร
กลุ่มตัวอย่างที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีและโท ในการศึกษาถึงปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ
ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาของ วราภรณ์ (2533) และสังคม และความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์
พบว่า ระดับการศึกษาของราษฎรกลุ่มตัวอย่างมีผลต่อ ทรัพยากรป่าไม้บริเวณเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาเขียว -
การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ เขาชมภู่ จังหวัดชลบุรี มีผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้
การเข้ารับการฝึกอบรม จากการทดสอบ ราษฎรกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชายร้อยละ
สมมติฐาน พบว่า ราษฎรกลุ่มตัวอย่างที่มีการเข้ารับ 70.50 มีอายุเฉลี่ย 41.30 ปี การศึกษาอยู่ในระดับ
การฝึกอบรมแตกต่างกันมีความคิดเห็นในการอนุรักษ์ ประถมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 45.00 ภูมิล�าเนาดั้งเดิม
ทรัพยากรป่าไม้แตกต่างกันที่ระดับนัยส�าคัญทางสถิติ อยู่ในหมู่บ้านร้อยละ 62.60 ระยะเวลาอาศัยอยู่ใน
0.05 โดยราษฎรกลุ่มตัวอย่างที่เคยเข้ารับการฝึกอบรมมี หมู่บ้านเฉลี่ย 30.50 ปี มีจ�านวนสมาชิกในครัวเรือน
ความคิดเห็นในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้สูงกว่าราษฎร เฉลี่ย 4.30 คน และส่วนใหญ่เป็นแรงงานในครัวเรือน
กลุ่มตัวอย่างที่ไม่เคยเข้ารับการฝึกอบรม ซึ่งสอดคล้อง เฉลี่ย 3.90 คน มีอาชีพหลักรับจ้างร้อยละ 32.50
กับผลการศึกษาของบุญมี (2544) พบว่า การเข้ารับ และไม่มีอาชีพรองร้อยละ 63.20 มีรายได้และรายจ่าย
การฝึกอบรมด้านทรัพยากรป่าไม้มีผลต่อความคิดเห็น เฉลี่ยต่อครัวเรือนเท่ากับ 159,818.10 บาท และ
ของคณะกรรมการบริหารและปลัดองค์การบริหาร 133,062.50 บาท ตามล�าดับ มีเพียงร้อยละ 42.70
ส่วนต�าบล ดังนั้น จึงควรมีการจัดฝึกอบรมแก่ราษฎร ที่มีเงินออม การถือครองที่ดินเฉลี่ย 4.60 ไร่ ต�่าสุด