Page 55 -
P. 55

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์




                                           วารสารวนศาสตร 31 (3) : 45-54 (2556)                      53
                                                           ์


                  1  ไร่  สูงสุด  100  ไร่  พบว่าร้อยละ  84.80  ไม่เคย  เสริมสร้างให้เกิดความคิดเห็นทางด้านนี้ให้สูงขึ้น

                  ได้รับข่าวสารด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้  และ  ซึ่งอาจจะต้องอาศัยกระบวนการฝึกอบรมเพื่อให้
                  ไม่เคยเข้ารับการฝึกอบรมด้านการอนุรักษ์ทรัพยากร  ราษฎรเกิดการเรียนรู้  และน�าไปปฏิบัติในด้านการ
                  ป่าไม้ร้อยละ  86.8  ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์  อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ในท้องถิ่นและอาจสร้าง
                  ทรัพยากรป่าไม้ราษฎรได้คะแนนต�่าสุด  7  คะแนน  แรงจูงใจเพื่อกระตุ้นให้มีการปฏิบัติควบคู่ไปด้วย
                  สูงสุด 10 คะแนน และได้คะแนนเฉลี่ย 8.25 คะแนน    เช่น การให้รางวัล และการประกาศเกียรติคุณ  เป็นต้น
                  ราษฎรกลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นด้านการสงวน   รวมทั้งอาจเปิดโอกาสให้ราษฎรได้มีส่วนร่วมใน
                  ดูแลและป้องกันรักษาทรัพยากรป่าไม้ในภาพรวม    การพิทักษ์รักษาป่าซึ่งก็เป็นทางหนึ่งในการที่จะ

                  อยู่ในระดับปานกลาง ด้านการใช้ประโยชน์ทรัพยากร  สร้างทัศนคติในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ของ
                  ป่าไม้อย่างรู้คุณค่าในภาพรวมอยู่ในระดับน้อย    ราษฎรให้สูงขึ้น
                  ด้านการพัฒนาและฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ในภาพรวม
                  อยู่ในระดับปานกลาง และภาพรวมของความคิดเห็น                   ค�านิยม
                  ของราษฎรในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้อยู่ใน
                  ระดับปานกลาง                                        ผู้วิจัยขอขอบพระคุณ ผศ.ดร.พสุธา สุนทรห้าว
                         ปัจจัยที่มีผลต่อความคิดเห็นในการอนุรักษ์  ที่ให้ค�าแนะน�าจนงานวิจัยครั้งนี้ส�าเร็จลุล่วงไปด้วยดี
                  ทรัพยากรป่าไม้ของราษฎรที่ระดับนัยส�าคัญทาง   ขอขอบคุณราษฎรที่อาศัยรายรอบเขตรักษาพันธุ์สัตว์
                  สถิติ  0.05  ได้แก่  ระดับการศึกษา  ประสบการณ์  ป่าเขาเขียว - เขาชมภู่ ที่ให้ความอนุเคราะห์ข้อมูลและ

                  ในการเข้ารับการฝึกอบรม  และความรู้ทางด้านการ  อ�านวยความสะดวกในการเก็บข้อมูลวิจัย
                  อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้  และปัจจัยที่ไม่มีผลต่อ
                  ความคิดเห็นในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ของ             เอกสารและสิ่งอ้างอิง
                  ราษฎรที่ระดับนัยส�าคัญทางสถิติ  0.05  ได้แก่  เพศ
                  อายุ  ศาสนา  จ�านวนสมาชิกในครัวเรือน  อาชีพหลัก    กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่า  และพันธุ์พืช.  2550.
                  ระยะเวลาที่อยู่อาศัยในท้องถิ่น  รายได้ครัวเรือน       แผนแม่บทการจัดการพื้นที่เขตรักษาพันธุ์
                  และจ�านวนพื้นที่ถือครอง                             สัตว์ป่าเขาเขียว - เขาชมภู่.  เขตรักษาพันธุ์

                         ข้อเสนอแนะที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้มี        สัตว์ป่าเขาเขียว  -  เขาชมภู่,  ชลบุรี.
                  ดังนี้ 1) หน่วยงานราชการจะต้องเข้าไปปรับเปลี่ยน  บุญมี  รุ่งรักสกุล.  2544.  ปัจจัยที่มีผลต่อความคิดเห็น
                  ความคิดเห็นของราษฎร  โดยจะต้องเริ่มต้นจากการ        ของคณะกรรมการบริหารและปลัดองค์การ
                  เปลี่ยนองค์ประกอบด้านความรู้ในเรื่องการอนุรักษ์     บริหารส่วนต�าบล  ที่มีต่อการอนุรักษ์ทรัยากร
                  ทรัพยากรป่าไม้เป็นอันดับแรก  เพื่อให้ราษฎรได้       ป่าไม้ในจังหวัดกาญจนบุรี.  วิทยานิพนธ์
                  ทราบข้อเท็จจริงและมีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับ      ปริญญาโท,  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
                  คุณประโยชน์ของทรัพยากรป่าไม้  รวมถึงแนวทาง   วราภรณ์  สุนทราพิพัฒน์.  2533.  ปัจจัยทางเศรษฐกิจ
                  และวิธีการในการอนุรักษ์โดยการส่งเสริมการฝึก         และสังคมของราษฎรที่มีผลต่อการอนุรักษ์
                  อบรมแก่ราษฎรที่อาศัยอยู่รายรอบเขตรักษาพันธุ์        ทรัพยากรป่าไม้ในชุมชนบ้านค�าขาม  ต�าบล

                  สัตว์ป่าเขาเขียว - เขาชมภู่ และ 2) เนื่องจากคะแนน     ดงมูล  อ�าเภอหนองกุงศรี  จังหวัดกาฬสินธุ์.
                  ความคิดเห็นต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ของ          วิทยานิพนธ์ปริญญาโท,  มหาวิทยาลัยเกษตร
                  ราษฎรอยู่ในระดับปานกลาง  จึงควรที่จะได้มีการ        ศาสตร์.
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60