Page 58 -
P. 58

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์




                  56                         Thai J. For. 31 (3) : 55-64 (2013)



                  Gynura  hispida  provided  the  highest  internal  rates  of  return.  Based  on  the  determination
                  of  A.  thwaitesianum,  marketing  channel  involved  a  total  production  of  40.88  tons  with
                  a  distribution  to  local  factories  (55.75%)  and  agricultural  processing  product  groups
                  (44.25%)  for  wine,  drinking  juice  and  concentrated  juice  production.


                  Keywords: financial analysis, agroforestry, Phu Phan Agroforestry Network

                                                       บทคัดย่อ


                         วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้คือเพื่อวิเคราะห์ทางการเงินของการท�าวนเกษตรในระดับครัวเรือน  ภายใต้
                  เครือข่ายวนเกษตรภูพาน  จังหวัดสกลนคร  รวมทั้งวิเคราะห์วิถีการตลาดของเม่าหลวงซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจหลักที่ใช้
                  ปลูกร่วมกับพืชอื่นๆ  ในระบบวนเกษตรที่ศึกษา  ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษารวบรวมได้จากการใช้แบบสอบถามที่สร้างขึ้น
                  สัมภาษณ์เกษตรกรตัวอย่างจ�านวน  56  ครัวเรือน  ในการวิเคราะห์ผลส�าเร็จทางด้านการลงทุนในการท�าวนเกษตร
                  ได้เน้นศึกษาเฉพาะ  3  รูปแบบหลักได้แก่  รูปแบบที่  1  คือ  การปลูกเม่าหลวงร่วมกับล�าไยและดาวเรือง  รูปแบบที่
                  2  คือ  การปลูกเม่าหลวงร่วมกับมะขามหวานและกล้วย  และรูปแบบที่  3  คือ  การปลูกเม่าหลวงร่วมกับน้อยหน่า
                  และมะละกอ  โดยได้แบ่งขนาดแปลงวนเกษตรตัวอย่างออกเป็น  3  ขนาด  คือ  แปลงขนาดเล็ก  (4-7  ไร่)  แปลง
                  ขนาดกลาง    (8 - 11ไร่)  และแปลงขนาดใหญ่  (12 - 16  ไร่)  หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ทางการเงินที่ใช้มี    3  วิธี  คือ
                  มูลค่าปัจจุบันสุทธิ    อัตราผลตอบแทนต่อต้นทุน  และผลตอบแทนของโครงการ    เป็นเครื่องมือวัดความเหมาะสม
                  ของการลงทุน  โดยก�าหนดระดับอัตราคิดลด    3  ระดับ  คือ  ร้อยละ  5,    8    และ  10  และก�าหนดระยะเวลาของ
                  โครงการเท่ากับ  25  ปี
                         ผลการศึกษาสรุปได้ว่า  แปลงทุกขนาดในทุกรูปแบบและในทุกระดับอัตราคิดลด  ให้ผลตอบแทนคุ้มค่า
                  กับการลงทุน  เนื่องจากมูลค่าปัจจุบันสุทธิมีค่าเป็นบวกและมีค่ามากกว่า    0    อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนทุกค่า
                  มีค่ามากกว่า  1  และอัตราผลตอบแทนของโครงการมีค่ามากกว่าอัตราคิดลดสูงสุดที่ก�าหนดไว้  โดยการลงทุนใน
                  แปลงขนาดกลาง  รูปแบบที่  1  ให้ผลตอบแทนสูงกว่าแปลงอื่นๆ  ส�าหรับวิถีการตลาดของผลิตผลหลักจากระบบ
                  วนเกษตร  คือ  เม่าหลวง  พบว่า  ผลผลิตเม่าหลวงสดที่ผลิตได้ทั้งหมด  จ�านวน  40.88  ตัน  ในปี  พ.ศ.  2550  และได้
                  กระจายไปสู่การแปรรูป  จ�านวน    2  แหล่ง  คือ  โรงงานอุตสาหกรรมในท้องถิ่น  ร้อยละ  55.75  และกลุ่มแปรรูป
                  ผลผลิตทางการเกษตร  ร้อยละ  44.25  เพื่อเข้าสู่กระบวนการผลิตเป็นไวน์  น�้าผลไม้พร้อมดื่ม  และน�้าผลไม้เข้มข้น

                  ค�าส�าคัญ : การวิเคราะห์ทางการเงิน วนเกษตร เครือข่ายวนเกษตรภูพาน




                                   ค�าน�า                      ทางออกภายใต้วิกฤตการณ์ดังกล่าว  ในระยะแรกนั้น
                                                               กรมป่าไม้และองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้  ได้ริเริ่มให้
                         ในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมาการจัดการ    ชาวไร่น�าพืชเกษตรเข้าไปปลูกในพื้นที่สวนป่า  ท�าให้
                  ป่าไม้ของประเทศไทยนั้นยังขาดการจัดการอย่าง   ชาวไร่ได้ผลผลิตทั้งอาหารจากพืชและไม้ส�าหรับไว้
                  สมดุลระหว่างการพัฒนาสังคมและการจัดการ        ใช้สอยต่างๆ  ซึ่งการแก้ปัญหาความขัดแย้งในการใช้
                  ทรัพยากรป่าไม้  เช่น  การสนับสนุนการสัมปทาน  ประโยชน์ที่ดินโดยวิธีการปลูกพืชเกษตรควบระหว่าง
                  ป่าไม้  การแผ้วถางพื้นที่ป่าไม้เพื่อท�าการเกษตรของ  ต้นไม้นั้นอาจกล่าวได้ว่าเป็นแหล่งก�าเนิดของระบบ

                  ราษฎรในชนบท  ส่งผลให้ป่าไม้อันเป็นฐานของความ  วนเกษตรก็ว่าได้  (นิวัติ,  2548)
                  หลากหลายทางชีวภาพลดลงอย่างรวดเร็ว  การแสวงหา        ปัจจุบันหลายพื้นที่ได้ปรับเปลี่ยนการท�า
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63