Page 39 -
P. 39

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


                                                         วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์   ปีที่ 41 ฉบับที่ 2   33



             ในการบริหารจัดการนิเวศวิทยาเชิงพุทธเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน  วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพที่ใช้ประกอบด้วย
             การสำรวจเอกสาร การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และการประชุมกลุ่มย่อย โดยใช้วิธีวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
                      ผลการวิจัยพบว่า  ในช่วง  50  ปีที่ผ่านมา  กิจกรรมของมนุษย์ได้เปลี่ยนแปลงระบบนิเวศไป
             อย่างรวดเร็วยิ่งกว่าช่วงเวลาใดๆ  ในประวัติศาสตร์  อิทธิพลแนวคิดด้านวิทยาศาสตร์แบบลดทอนทำให้
             มนุษย์เข้าใจผิดว่ามนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่ฉลาดกว่าผู้ใดและสามารถเอาชนะพลังยิ่งใหญ่ของธรรมชาติได้ทั้ง

             ยังได้สร้างความเสียหายแก่ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคม  การพัฒนาที่มากเกินไปก่อให้
             เกิดความเห็นแก่ตัวและขาดจิตวิญญาณของการรับผิดชอบต่อทุกสรรพสิ่ง  การประยุกต์หลักพุทธธรรม
             บูรณาการกับนิเวศวิทยาเพื่อการพัฒนาจิตและสังคมอย่างยั่งยืนได้วิเคราะห์ตัวอย่างจากกรณีศึกษา  6

             กรณี และพบว่าหลักไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญาเป็นหลักธรรมที่ทุกหน่วยงานได้นำไปประยุกต์โดย
             อาจจะไม่ได้ใช้ภาษาธรรมดังที่เข้าใจทั่วไปแต่ได้ทำให้เกิดกระบวนการทำงานที่แสดงให้เห็นว่าองค์ธรรมทั้ง
             3  ไม่สามารถแยกออกจากกันได้  ซึ่งในงานวิจัยฉบับนี้เรียกว่า  “พุทธบูรณาการ”  และมีการพัฒนาแปร
             เปลี่ยนไปตามหลักอิทัปปัจจยตาหรือความเป็นไปตามความสัมพันธ์ของเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง  ถ้าทุก
             องค์กรได้นำหลักไตรสิกขาไปปฏิบัติย่อมหวังได้ว่าจะประสบความสำเร็จในการดูแลระบบนิเวศ  พร้อมทั้ง

             เกิดการพัฒนาจิตและสังคมได้อย่างยั่งยืน
             คำสำคัญ: การบูรณาการพุทธธรรมกับนิเวศวิทยา, นิเวศวิทยาเชิงพุทธ, การพัฒนาที่ยั่งยืน


                                                  Abstract


                      The research objectives were: 1) to study the concept, theory, and principle
             concerning the ecology and impact; 2) to study how to apply the Buddhist Dhamma
             integration to the ecology in supporting the well-being learning of Thai society for the
             sustainable mind and social development; and 3) to analyze and develop a model of

             relationship among the government, local administration, sangha, and people sectors in
             managing the Buddhist ecology for sustainable development. The research methodology
             was to analyze the content on documentary research, in-depth interview, and group

             discussion.
                      The  research  found  that  in  the  past  50  years  human  activities  had  been
             changing  the  ecosystem  more  rapidly  than  ever  before.  The  influence  from  the
             Reductionism concept led the people to misunderstand that they were the cleverest
             creatures and could overcome the nature’s power.  In fact, they had damaged nature,

             the environment, the economy and society. In addition, the excess development may
             have caused human selfishness and lack of spirit on responsibility of everything. The
             application  of  Buddhist  integration  to  ecosystem  for  sustainable  mind  and  social

             development, analyzed from six case studies, found that the Threefold Training--Sila,
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44