Page 64 -
P. 64
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารมนุษยศาสตร์ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2560) 45
8. สรุป
บริการอิเล็กทรอนิกส์เป็นบริการทันสมัยที่ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาทุกแห่ง
ให้ความส าคัญ เนื่องเป็นช่องทางให้ผู้ใช้เข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศและบริการได้
อย่างสะดวกรวดเร็ว อย่างไรก็ตามเพื่อให้การบริการอิเล็กทรอนิกส์มีคุณภาพนั้น
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาจะต้องมีการจัดเตรียมทั้งในด้านเครื่องมือ อุปกรณ์ ระบบ
อินเทอร์เน็ต รวมถึงบุคลากรให้มีความพร้อมในด้านการบริการอิเล็กทรอนิกส์ และมี
การส ารวจตลาดการแก้ปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นระหว่างช่องว่าง (gap) ที่ส่งผลต่อ
คุณภาพของการบริการ การท าวิจัยประเมินความพึงพอใจเพื่อให้ทราบถึงความ
ต้องการของผู้ใช้ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ รวมทั้งมีการก าหนดเป้าหมายของ
คุณภาพบริการอิเล็กทรอนิกส์ โดยห้องสมุดอาจมีการก าหนดความพึงพอใจที่
มากกว่าหรือเท่ากับความพึงพอใจที่คาดหวังเพื่อสร้างความจงรักภักดีต่อการใช้
บริการห้องสมุดในอนาคต
รายการอ้างอิง
Boyer, K.K., Hallowell, R. & Roth, A.V. (2001). E-services: Operating strategy-
a case study and a method for analyzing operational benefits. Journal of
Operational Management, 20, 175-188.
Cotirlea, D. (2011). Issues regrading e-service quality management-customization on
online tourism domain. Polish Journal of Management Studies. Retrieved
from http://www.pjms.zim.pcz.pl/issues-regarding-e-service-quality-
management-customization-on-online-tourism-domain-kopiuj.php
Einasto, O. (2014). E-service quality criteria in university library: A focus group study.
Prociedia-Social and Behavioral Science, 147(2), 561-566.