Page 256 -
P. 256

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


                       วารสารมนุษยศาสตร์ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2560)   237












                  ภาพที่ 2. ความคิดเห็นที่ 16 จากกรณีศึกษาที่ 2 (ดราม่าแอดดิคดอทคอม, 2556)

                        จะเห็นได้ว่า ผู้แสดงความคิดเห็นที่ 16 ใช้การอ้างเหตุผลผิดแบบการใช้
                 ค าย้อมสีโดยกล่าวว่าหมอวศินไม่ใช่ผู้ที่สมควรกระท าในการรับชมละคร เพราะเป็น

                 เด็กอมมือ และใช้การอ้างเหตุผลผิดแบบการแย้งที่บุคคล เพราะหมอวศินเสี้ยมมั่วซั่ว
                 คิดเองเออเอง
















                  ภาพที่ 3. ความคิดเห็นที่ 57 จากกรณีศึกษาที่ 3 (ดราม่าแอดดิคดอทคอม, 2556)

                        จะเห็นได้ว่า ผู้แสดงความคิดเห็นที่ 57 ใช้การอ้างเหตุผลผิดแบบการใช้
                 ค าย้อมสีโดยกล่าวว่าแม่ค้าในดราม่านี้สมควรถูกต าหนิฝ่ายเดียวเพราะแม่ค้าโง่เขลา

                 และเป็นสัตว์เลื้อยคลาน

                        ส่วนการอ้างเหตุผลผิดแบบการเปรียบเทียบผิดแง่ที่ถูกน ามาใช้มากเป็น
                 อันดับสองในกรณีศึกษาที่ 1 นั้น ไม่ถูกน ามาใช้ในกรณีศึกษาที่ 2 และถูกน ามาใช้

                 มากที่สุดเป็นอันดับสองของการอ้างเหตุผลผิดทางเนื้อหาในกรณีศึกษาที่ 3 ซึ่งหาก
                 เทียบอัตราส่วนในการใช้การอ้างเหตุผลผิดแล้ว จะเห็นได้ว่า การเปรียบเทียบผิดแง่
                 นั้น แม้จะถูกน ามาใช้เป็นอันดับที่ 2 แต่ก็เป็นเพราะการใช้การอ้างเหตุผลผิดประเภท
   251   252   253   254   255   256   257   258   259   260   261