Page 150 -
P. 150
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารมนุษยศาสตร์ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2560) 131
4.2 พัฒนาการการเขียนเชิงวิเคราะห์
การวัดการเขียนเชิงวิเคราะห์เป็นการประเมินผลการใช้นิทานอีกด้านหนึ่ง
ของงานวิจัยนี้ เนื่องจากเมื่อผู้เรียนอ่านออกในระดับค า ระดับประโยคจนไปถึงระดับ
ข้อความได้แล้ว ควรสามารถตอบค าถามแบบทดสอบการเขียนเชิงวิเคราะห์ได้ เพื่อ
แสดงว่าผู้เรียนมีทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ต่อยอดจากความเข้าใจด้านรูปค าและ
ความหมาย จนสามารถถ่ายทอดผ่านการเขียนเชิงวิเคราะห์
การวัดและประเมินผลด้านการเขียนเชิงวิเคราะห์จึงเป็นอีกประเด็นหนึ่ง
ของงานวิจัย การประเมินผลด้านการเขียนเชิงวิเคราะห์ คือ ความสามารถของผู้เรียน
ในการตอบค าถามแบบทดสอบการเขียนเชิงวิเคราะห์ ผลการวิจัยเป็นดังนี้
การเขียนเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนต ารวจ
ตระเวนชายแดนนเบ็ตตี้ดูเมนก่อนและหลังใช้นิทาน
ตารางที่ 2
การเขียนเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนต ารวจตระเวน
ชายแดนเบ็ตตี้ดูเมนก่อนและหลังการใช้นิทาน
ชื่อ ก่อนใช้นิทาน หลังใช้นิทาน ความแตกต่าง
(คะแนนเต็ม 15) (คะแนนเต็ม 15)
สาริช วนาเจริญธรรม 7 13 เพิ่มขึ้น
พัชรี เลาสาร 7 5 ลดลง
กิตติวัฒน์ วนาเจริญธรรม 13 13 คงที่
จิรศักดิ์ กิจสุนทรานันท์ 13 15 เพิ่มขึ้น
ศักดิ์พล แซ่ผ่าน 10 8 ลดลง
ศุภกร แซ่เติ๋น 8 8 คงที่
โกสินทร์ กิจสุขโกศล 8 7 ลดลง
หยง พานโชคชัน 9 12 เพิ่มขึ้น
เกริกฤทธิ์ วาจาสุภาพ 12 15 เพิ่มขึ้น
ณัฐพล สายป้อง 8 11 เพิ่มขึ้น
สุภิสรา แซ่ผ่าน 10 15 เพิ่มขึ้น
สิรภัทร กุลกิติภักดี 7 8 เพิ่มขึ้น