Page 190 -
P. 190

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


                     วารสารมนุษยศาสตร์ ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2557)   179

                ความหมายเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยมีความหมายเฉพาะต่างออกไปจาก
                ความหมายเดิมของค าที่เป็นส่วนประกอบแต่ละส่วน
                       ทั้งนี้แนวโน้มในอนาคต ผู้วิจัยเชื่อว่าจะต้องมีค ากริยากลืนความใหม่ๆ

                เกิดขึ้นในวงการมวยไทยอีกมากมาย ท านายได้จากเงื่อนไขการเกิดกริยากลืน
                ความในงานวิจัยนี้ ซึ่งต่อไปกริยากลืนความเหล่านี้อาจใช้กันอย่างแพร่หลาย นอก
                แวดวงภาษามวยไทยก็ได้ ซึ่งเป็นประเด็นที่น่าสนใจที่จะศึกษาต่อไปในภายหน้า



                                         บรรณานุกรม

                ภำษำไทย
                กิติมา อินทรัมพรรย์. 2549. วิทยาหน่วยค า. กรุงเทพฯ: ภาควิชาภาษาศาสตร์
                       คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
                ชมพูนุท ธารีเธียร. 2552. “ค ากริยากลืนความในภาษาไทยถิ่นอีสานจังหวัดอุบลราชธานี.”
                       วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 5, 1 (มกราคม-มิถุนายน):
                       111-132.
                ทักษิณา ณ ตะกั่วทุ่ง. 2541. กลวิธีการบรรยายกีฬามวยไทยทางโทรทัศน์.
                       วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาสื่อสารมวลชน
                       มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
                ณัฏฐิการ์ แสงค า. 2538. ส านวนที่ใช้ในวงการกีฬามวยจากหนังสือพิมพ์และ

                       นิตยสาร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์
                       สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล.
                มณฑิกา บริบูรณ์. 2536. ค ากริยากลืนความในภาษาไทยตามแนวไวยากรณ์
                       ศัพทการก. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์
                       คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
                อมรา ประสิทธ์รัฐสินธุ์, ยุพาพรรณ หุ่นจ าลอง และสรัญญา เศวตมาลย์. 2546. ทฤษฎี
                       ไวยากรณ์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195