Page 189 -
P. 189

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


          178      Humanities Journal Vol.21, No.1 (January-June 2014)

                         เมื่อน ามาวิเคราะห์รูปแบบความสัมพันธ์ของกริยาตามด้วย
                 ้
          ค านามเปาหมาย ผลที่ได้คือ ในประโยค  (4) พบว่า กริยา “เหวี่ยง” ซึ่งเป็นกริยา
          ประจ าหมวดหมัดตามด้วยค านามที่ไม่ใช่อวัยวะหลักที่ใช้ในการชกมวย แต่เป็น
           ้
          เปาหมายในการชก การกสัมพันธ์ของค านามที่ตามหลังกริยาในกลุ่มนี้เป็นแบบ
          การกผู้รับ [PAT] แสดงให้เห็นว่า ค านามดังกล่าวท าหน้าที่เป็นผู้รับการกระท า

                         นอกจากนี้เมื่อน ามาทดสอบโดยเกณฑ์กรรมวาจก ผลที่ได้มี
          ดังนี้
                    (4)  ก. ประโยคกรรตุวาจก:  มหาโชค เกียรติภัทรพรรณเหวี่ยง
          รุ่งเรืองชัยดาวศรีบุรี

                         ข. ประโยคกรรมวาจก:  รุ่งเรืองชัยดาวศรีบุรีถูกมหาโชค
          เกียรติภัทรพรรณเหวี่ยง
                         จากข้างต้นสามารถสรุปได้ว่ารูปแบบความสัมพันธ์ทาง
          วากยสัมพันธ์ของกริยา “เหวี่ยง” และค านาม “รุ่งเรืองชัย” ดังกล่าวไม่ได้เป็นกริยา

          กลืนความ แต่เป็นกริยา-กรรม

          5. สรุปผล

                 ผลการวิเคราะห์รูปแบบความสัมพันธ์กริยา-นามในบทบรรยายการชก
          มวยไทย คือ กริยา-นามมีความสัมพันธ์แบบกริยากลืนความ โดยเงื่อนไขการเกิด
          กริยากลืนความคือ กริยานั้นๆ ต้องเป็นกริยาประจ าหมวด และค านามที่ตามมา
          จะต้องเป็นอวัยวะประจ าหมวด อันได้แก่ค าว่า หมัด เท้าหรือแข้ง เข่า และศอก
          เท่านั้น  ส่วนกริยาที่ประกอบกับค านามอื่นๆ ที่ไม่ใช่อวัยวะหลักทั้ง 4 ข้างต้น จะ
          ไม่ใช่กริยากลืนความ แต่จะมีคุณสมบัติทางวากยสัมพันธ์แบบกริยาสกรรม


                 คุณสมบัติทางวากยสัมพันธ์ของกริยากลืนความในบทบรรยายการชก
          มวยไทยคือ ค านามในค ากริยากลืนความไม่สามารถท าเป็นประโยคกรรมวาจกได้
          ไม่สามารถปรากฏเป็นส่วนของประโยคเน้นเรื่องได้ ไม่สามารถแยกส่วนประกอบ
          ในการถาม-ตอบได้ นอกจากนี้กริยาและหน่วยนามที่เป็นค ากริยากลืนความจะมี
   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194