Page 187 -
P. 187

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


          176      Humanities Journal Vol.21, No.1 (January-June 2014)

                         ส่วนกริยากลืนความที่แปลงแล้วพบว่า เครื่องหมายลักษณ์
          เปลี่ยนจากกริยาอกรรม [-trns]  เป็นกริยาสกรรม [+trns] ทั้งนี้กริยากลืนความที่
          แปลงแล้ว จะมีเครื่องหมายก ากับว่าเกิดร่วมกับค านาม 2 ค า คือค านามที่ระบุ

          ผู้แสดง [?[+actr]]  และการกผู้ท า [+AGT] ในต าแหน่งประธานของประโยค ส่วน
          ค านามที่สองระบุการกกรรม [? [+Acc, +PAT]] กล่าวโดยสรุปคือ กริยาปลายทางที่
          ผ่านการแปลงค าแล้วเป็นกริยาสกรรม

                         ตัวอย่างประโยคมวยไทยที่เป็นกริยากลืนความประเภทกริยา
          อกรรมตามด้วยค านามการกวิธีแปลงเป็นกริยาสกรรม

                    (3)  เศรษฐี เอราวัณ (ซ้าย) ดักเสียบเข่าเพชรด าศิษย์บุญมี...

                        เสียบ   เข่า   →    เสียบเข่า     เพชรด า
                        -trns   +MNS          +trns     +PAT
                              +Mns                      -Nom

                        จากตัวอย่าง (3) กริยาต้นทาง “เสียบ” เกิดร่วมกับค านาม “เข่า”
          ซึ่งมีการกวิธี [+Mns]  แสดงว่า กริยาต้นทางดังกล่าวเป็นกริยาอกรรม ส่วนกริยา
          กลืนความที่แปลงแล้ว “เสียบเข่า” จะไม่ปรากฏลักษณ์ [+Mns]  แต่จะเกิดร่วมกับ

          ค านาม 2 ค า คือ เศรษฐี เอราวัณ ซึ่งระบุผู้แสดง [?[+actr]] และการกผู้ท า [+AGT]
          ส่วนค านาม เพชรด า ระบุการกกรรม [?[+Acc, +PAT]] สรุปได้ว่า กริยาปลายทาง
          ที่ผ่านการแปลงค าแล้วเป็นกริยากลืนความประเภทกริยาสกรรม

                 4.2  กริยาสกรรมตามด้วยค านาม
                    จากการวิเคราะห์รูปแบบความสัมพันธ์ของกริยา-นามในบทบรรยาย

          การชกมวยไทยข้างต้น หากค านามที่ตามหลังกริยาไม่ใช่อวัยวะหลักทั้ง 4 ประเภท
          คือ หมัด เท้า/แข้ง เข่า และศอก ผู้วิจัยพบว่า รูปแบบความสัมพันธ์ของกริยา-นาม
          นั้นจะไม่ใช่กริยากลืนความ แต่เป็นแบบกริยาสกรรมตามที่มีการกสัมพันธ์ผู้รับ
          (PAT; Patient) กล่าวคือ ค านามนั้นจะท าหน้าที่เป็นกรรมของกริยาสกรรม
   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192