Page 188 -
P. 188
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารมนุษยศาสตร์ ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2557) 177
ในการทดสอบรูปแบบความสัมพันธ์ของกริยา-นามดังกล่าวว่าเป็น
กริยาสกรรม-นามหรือไม่ ผู้วิจัยทดสอบโดยใช้เกณฑ์การท าเป็นกรรมวาจก โดย
หากค านามหลังกริยาสามารถท าหน้าที่ประธานของประโยคในประโยคกรรมวาจก
ความสัมพันธ์ระหว่างกริยา-นามนั้นคือ กริยาสกรรมตามด้วยกรรม
4.2.1 กริยาตามด้วยค านามที่เป็นอวัยวะเป้ าหมายของฝ่ายรับ
้
่
โดยอวัยวะเปาหมายในที่นี้ ผู้วิจัยหมายถึง อวัยวะของฝายรับ
่
่
้
ที่เป็นเปาหมายในการโจมตีหรือปะทะของฝายรุก เพื่อท าให้ฝายรับได้รับบาดเจ็บ
ซึ่งอวัยวะดังกล่าวจะไม่ใช่อาวุธหลักในการชกมวยไทยทั้ง 4 หมวด คือ หมัด เท้า/
แข้ง เข่า และศอก
ตัวอย่างบทบรรยายการชกมวยไทยที่พบกริยาตามด้วย
้
ค านามเปาหมาย
(2) จอมยุทธหญิง เครื่องครัวแกรนด์ฟิสต์เหน็บสีข้างเพชรนารีย์
เมื่อน ามาทดสอบด้วยเกณฑ์กรรมวาจก ผลที่ได้พบว่า
ประโยคกรรมวาจก: สีข้างเพชรนารีย์นะ ถูกจอมยุทธหญิงเหน็บ
จากตัวอย่างข้างต้นจะเห็นว่า กริยา “เหน็บ” สามารถเกิด
ร่วมกับค าว่า “ถูก” ส่วนค านาม “สีข้างเพชรนารีย์” สามารถเป็นประธานของ
ประโยคกรรมวาจกได้ จึงสรุปได้ว่า กริยา “เหน็บ” เป็นกริยาสกรรมตามด้วยค านาม
ไม่ใช่กริยากลืนความ
4.2.2 กริยาตามด้วยค านามผู้รับ ในที่นี้ผู้วิจัยพบว่าค านามที่เป็น
่
ผู้รับมักระบุเป็นชื่อของนักมวยที่เป็นผู้ถูกกระท า หรือฝายรับการโจมตี
ตัวอย่างบทบรรยายการชกมวยไทยที่พบกริยาตามด้วยชื่อ
่
นักมวยฝายรับ
(4) มหาโชค เกียรติภัทรพรรณเหวี่ยงรุ่งเรืองชัยดาวศรีบุรีจนล้ม
หน้าคะม า