Page 74 -
P. 74

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


                                  วำรสำรมนุษยศำสตร์ ปีที่ 20 ฉบับพิเศษ (2556)   63

                           ค าแปล “(ช)... หากน้องเอาผัวเอาแบบพี่ไอ้ยาวยาว ออก็เพราะ
                                     8
                (ไอ้ที่)มันสั้น(มันจึง)ท างาน ไม่ค่อยเก่ง เอาไอ้พี่(นี่แบบ)ยาวๆ ขยันทั้งกลางคืน
                                                     9
                ขยันทั้งกลางวัน (ญ) ...สมัยนี้เขาเรียกสมัยพัฒนา  เป็นหม้ายเมื่อไรน้องก็หันไป
                เอาฝรั่ง หนุ่มวัยรุ่นอย่ามาหวัง น้องหันเอาฝรั่งไม่เอาพี่ชายหรอก”

                         1.4 ผู้หญิงที่มีปัญหาครอบครัว

                           (8) “แปฺด็ยเพฺ อะตาซฺราการเงียรมันแดลเทอ แปฺด็ยอังกุยเลฺ้ อก์
                ตาแกว เซฺว็ฺ องก็อฺ ลนาบอฺ งรัวรืงตาปฺระป็วน มันจูยการปฺป็วนโกน เพฺ อะซี
                ตาคฺลูนบอฺ งซฺลัญตาคฺนีเคฺนีย เนียงค็อฺ มรัวซีอันเจ็มโกน ฮับเงือ็บต็อฺ งคฺลูนบอฺ งจี

                มีปู๊จมันเจีย เตื๊อ็ดต็อ๊บเนียงเพฺ อะเชียมเตีย เนียงโกนตฺรอมเตฺรียซมเลีย
                เติวยัวแปฺด็ยปฺรัง”  (บุญมี รุ่งประทานพร และ อารยา ฟ้าประทานพร, ชุด จ าโกน
                ไงโดนตา (รอลูกวัน “โฎนตา”) เพลง ขฺล้าจแขฺมรดัจปู๊จ (กลัวเขมรสิ้นพันธุ์)
                           ค าแปล “ผัวดื่มแต่เหล้าการงานไม่เคยท า ผัวนั่งยกแต่แก้ว เมาที
                ไรพี่หาเรื่องแต่(กับ)เมีย ไม่ช่วยงานเมีย(และ)ลูก ดื่มกินแต่ตัวพี่(พี่)รักแต่เพื่อน
                พ้อง น้องอุตส่าห์หากินเลี้ยงลูก (จน)เกือบตายทั้งร่างพี่ด่าอีโคตรไม่ดี เตะต่อยน้อง
                กระอักเลือด น้อง(กับ)ลูกตรอมตรมขอลาไปเอาผัวฝรั่ง”


                         1.5 ผู้หญิงผิวด า
                           (9) “จ็อฺ งๆๆ เนียงจ็อฺ งบานแปฺด็ยปฺรัง เกฺ๊ อดโมบฺรอคฺลังเคฺมา
                โด๊จอัจกฺรูแบ็ย กีเฮาตามีคีวก็มันตฺร็อวเจ็ฺ อ๊ดบองไท เดจกึ๊ดซ็อฺ บไงทาจ็อฺ งบาน



                       8
                         “เทอการ” หมายถึง “ท างาน” ค านี้เป็นค าสุภาพของค าว่า “ร่วมเพศ” ซึ่ง
                มักพบในเพลงของชาวเขมรถิ่นไทย.
                       9
                         “สมัยพัฒนา” เป็นค าที่พบมากในเพลงของชาวเขมรถิ่นไทย สื่อถึงยุค
                สมัยใหม่ซึ่งการคมนาคมขนส่งสะดวกสบายและรุ่งเรืองด้วยวัตถุและเทคโนโลยี ในบาง
                บริบทศิลปินใช้ค านี้เพื่อสื่อถึงความตกต่ าทางศีลธรรมและจริยธรรมของคนในสังคม
                ผู้วิจัยสันนิษฐานว่าค านี้น่าจะเกี่ยวข้องกับ “แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ”
                เพราะเป็นแผนงานที่กระจายความเจริญสู่ภาคต่างๆ ของไทยและส่งผลให้สภาพสังคม
                และวิถีชีวิตของผู้คนเปลี่ยนแปลงไปจากอดีตเป็นอย่างมาก.
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79