Page 39 -
P. 39
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
28 Humanities Journal Vol.20 Special Issue (2013)
วรรณศิลป์และคุณค่าทางสังคมในด้านต่างๆ การประเมินค่าวงศ์เทวราชฉบับนี้จึง
จ าเป็นต้องอาศัยบริบททางสังคมและขนบการละครเพื่อพิสูจน์คุณค่าที่แท้จริงของ
วรรณกรรม
ค าส าคัญ: วงศ์เทวราช; หลวงพัฒนพงศ์ภักดี; ขนบบทละคร
Abstract
This article aims to investigate Laung Phathanapongphakdi’s Wong
Thewarat and its convention of classical play. Laung Phathanapongphakdi’s
Wong Thewarat was written during the reigns of King Mongkut and King
Chulalongkorn. The context depicted socio-cultural changes in terms of
intellectual history and literary tradition. The elites and intellectuals valued
realistic elements in the contemporary works; Laung Phathanapongphakdi’s
Wong Thewarat as conventional plays became unpopular. It is found that
themes, literary devices and social values in Laung Phathanapongphakdi’s
Wong Thewarat pursued the conventions found in early Rattanakosin plays.
To verify values of the play, socio-cultural context and the convention should
be taken into account.
Keywords: Wong Thewarat; Laung Phathanapongphakdi;
convention of plays
บทน า
ตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนปลายจนถึงสมัยต้นรัตนโกสินทร์ คนไทยทั้งในและ
นอกราชส านักนิยมการละครอย่างแพร่หลาย ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า
จุฬาโลกมหาราชสะท้อนให้เห็นความรุ่งเรืองด้านวรรณคดีประเภทบทละครอย่าง
เห็นได้ชัด อาทิ พระองค์ได้ทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่องรามเกียรติ์อย่าง
ครบถ้วนสมบูรณ์เพื่อเป็นแบบฉบับส าหรับพระนคร ทั้งนี้ความนิยมการละครก็