Page 98 -
P. 98

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


                                         ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2555)   87

                (Adrienne Rich) ได้กล่าวไว้ในบทกวี “Transcendental Etude” ว่า“นักเขียนสตรี
                ร่วมสมัยหลำยคนจึงได้ยืนยันที่จะเขียนเรื่องเกี่ยวกับสตรีโดยเฉพำะ และพยำยำม
                ท ำให้เรื่องที่บุรุษเพศเห็นว่ำเป็นเรื่องธรรมดำสำมัญ เป็นเรื่องเล็กน้อย และเป็น

                เรื่องของชีวิตประจ ำวันกลำยเป็นเรื่องส ำคัญ เป็นเรื่องที่มีควำมเป็นสำกล และมี
                คุณค่ำควรแก่กำรเป็นเนื้อหำของวรรณกรรม” (สุรภีพรรณ ฉัตราภรณ์, 2547: 307)


















                                     ภาพที่ 1: เมอร์ลินดา โบบิส

                       ลักษณะการวางโครงเรื่องด้วยอาหารของผู้แต่งเน้นย้ าความส าคัญของ
                อาหาร ขับเน้นความหิวโหยให้เด่นชัด พร้อมกับแสดงเส้นทางการแสวงหาอาหาร
                ทางกายและจิตวิญญาณของสตรี จากชื่อเรื่อง Banana Heart Summer  แสดงให้
                เห็นความเชื่อมโยงของอาหาร หัวใจ และฤดูร้อน เพื่อตอกย้ าเนื้อหาส าคัญเกี่ยวกับ

                การเติมเต็มทางกายและจิต Banana  สื่อถึงอาหารที่ตัวละครเอกโปรดปรานและ
                อาหารส่วนใหญ่ภายในเรื่องนี้จะมีกล้วยเป็นส่วนประกอบส าคัญหากจะพิจารณาใน
                เชิงสัญลักษณ์ที่อ้างถึงอวัยวะเพศ (Phallic Symbol) Banana ยังเปรียบได้กับเพศ
                ชายที่มีส่วนเข้ามาเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของตัวละครสตรีภายในเรื่อง Heart

                หมายถึงความรักและการเรียนรู้ความจริง ความลวงของความรักที่ตัวละครในเรื่อง
                ได้พบเจอ นอกจากนี้ Banana  Heart  ยังหมายถึง “หัวปลี” ซึ่งในเรื่องได้ใช้คติ
                ความเชื่อเรื่องการดื่มหยดน้ าค้างจากหัวปลีในตอนเที่ยงคืนเพื่อจะได้อิ่มเป็น
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103