Page 132 -
P. 132

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


                                         ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2555)  121

                       4)  เส้นหยัก วิธีการเพิ่มเส้นหยักมีหน้าที่ขยายจ านวนตัวอักษร
                           เช่นเดียวกันกับ หัว, หาง, และขมวดม้วน เช่น ค-ฅ, ด-ต จะเรียกว่า
                           “เส้นหยักบน” และ ฎ-ฏ จะเรียกว่า “เส้นหยักล่าง”













                                 ภาพที่ 7 เส้นหยักบนและเส้นหยักที่หาง

                       5)  ปากหรือจะงอย ใช้กับกลุ่มอักษร ก, ภ, ถ, ฤ, ฦ, ฎ, และ ฏ ปาก
                           ของอักษรกลุ่ม ก นี้สามารถออกแบบได้หลายลักษณะ เช่น เป็น

                           เส้นหยัก, เส้นหักทะแยง, เส้นตรงชนตั้งฉากกัน เป็นต้น









                             ภาพที่ 8 ปากหรือจะงอยของตัว ก ลักษณะต่างๆ

                       6)  เส้นสะบัด ในพยัญชนะและสระพบอักษรที่ปรากฏเส้นสะบัด 4  ตัว
                           คือ ธ, ร, โ, และ ฐ เส้นสะบัดไม่ได้ใช้เพื่อช่วยแยกตัวอักษรออกจาก
                           กันแต่ประการใด ถือเป็นเอกลักษณ์เฉพาะอย่างของตัวอักษรไทย

                           เท่านั้น
   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137