Page 131 -
P. 131

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


          120  วารสารมนุษยศาสตร์

                 2)  หาง เป็นวิธีการขยายตัวอักษรจากตัวหลักที่มีอยู่ มีหลายแบบ
                    ได้แก่ หางตั้ง, หางดิ่ง, หางเฉียง, หางขมวดม้วนตวัด, และหางกลาง
                    (ไส้)
























                          ภาพที่ 5 หางตัวอักษรไทยรูปแบบต่างๆ

                 3)  เส้นขมวดม้วน เป็นวิธีการเพิ่มตัวอักษรจากตัวหลัก เช่น บ เป็น ม

                    และ น โดยการเติมเส้นขมวดม้วนในแต่ละเส้นฐานเรียกว่า “ขมวด
                    ล่าง” และ ท เป็น ห โดยการเติมเส้นขมวดที่เส้นหลักเรียกว่า “ขมวด
                    บน”










                           ภาพที่ 6 ขมวดม้วนของ ม, น, และ ห
   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136