Page 124 -
P. 124

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


                                         ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2555)  113

                        ข้อสังเกตในการใช้แบบตัวพิมพ์ไทยเสมือนโรมัน:
                                                              
                             เอกลักษณ์และความชัดเจนที่หายไป

                       Viewpoint of Using a Roman-like Typeface:
                       Disappearance of Singularity and Legibility



                                                                           
                                                            รัชภูมิ ปัญส่งเสริม
                                                    Rachapoom Punsongserm


                บทคัดย่อ
                       บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อน าเสนอข้อสังเกตเบื้องต้นในการใช้แบบ
                ตัวพิมพ์ไทยเสมือนโรมัน โดยเฉพาะแบบตัวพิมพ์ไทยเสมือนโรมันชนิดแซนส์เซอริฟ
                ที่ส่งผลกระทบต่อการสื่อสารด้านประจักษภาพและการอ่านเข้าใจในสื่อต่างๆ ซึ่งจะ

                น าไปสู่การเปิดประเด็นการถกเถียงในวงกว้างเพื่อการพัฒนาทฤษฎีทางศิลปะการ
                ใช้ตัวพิมพ์และการออกแบบตัวพิมพ์ของไทย  โดยผู้ศึกษาได้ท าการส ารวจการใช้
                แบบตัวพิมพ์ดังกล่าวที่ปรากฏในสื่อกราฟิก 4 ประเภท ได้แก่ กราฟิกสิ่งพิมพ์,


                       
                         บทความนี้ ส่วนหนึ่งเกิดจากประเด็นการสนทนากับคุณปริญญา โรจน์อารยนนท์
                (ในช่วงระหว่าง พ.ศ. 2553-2554)  นักออกแบบตัวพิมพ์ผู้มากประสบการณ์ในวงการวิชาชีพ

                และวิชาการทางด้านตัวพิมพ์ไทย ซึ่งเป็นผู้มีอิทธิพลและให้แง่คิดต่อผู้เขียนเป็นอย่างดี
                ทั้งนี้ผู้เขียนได้หยิบยืมค าว่า “ตัวพิมพ์ไทยเสมือนโรมัน”  มาใช้ในบทความนี้ ซึ่งทางคุณ
                ปริญญานั้นเป็นผู้ริ่เริ่มใช้ก่อน รวมถึงตัวอย่างค าที่ถูกยกตัวอย่างเพื่อแสดงความสับสน
                ข้ามภาษา ได้แก่ พ.ร.บ. และ SU  นั้นก็ล้วนได้รับจากการสนทนาแทบทั้งสิ้น ทั้งหมดนี้
                ผู้เขียนจึงขอขอบคุณคุณปริญญา โรจน์อารยนนท์ เป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้
                       
                         อาจารย์ประจ าสาขาวิชาศิลปะการออกแบบหัตถอุตสาหกรรม  คณะศิลปกรรมศาสตร์
                มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129