Page 115 -
P. 115
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
104
ตารางที่ 2 พฤติกรรมและท่าทางที่เกี่ยวข้องกับการแสดงออกทางสีหน้าของลิงวอกภูเขา
การแสดงออกทางสีหน้า พฤติกรรมและท่าทางประกอบ ความหมายของการแสดงสีหน้า
1. Teeth chatter ยกคิ วขึ นลง ยกหัวขึ นลงและ บ่งบอกถึงพฤติกรรมการผูกไมตรี เข้าประชิดลิงตัวอื่นเพื่อท้า
จ้องไปยังลิงตัวอื่น ความสะอาดร่างกาย และยับยั งหรือลดพฤติกรรมก้าวร้าว
ระหว่างสมาชิกในฝูง ตัวอย่างเช่นในฤดูผสมพันธุ์ ลิงตัวเต็มวัย
เพศผู้จะแสดง Teeth chatter พร้อมกับยกคิ วขึ นลง และจ้อง
ไปยังลิงตัวเต็มวัยเพศเมียเพื่อเข้าไปผสมพันธุ์
2. Bared teeth ขยับฟัน แกว่งหาง ก้มตัวลง บ่งบอกถึงการยอมแพ้ ลิงที่แสดงสีหน้าแบบ Bared teeth
และนอนราบกับพื น บางครั งส่ง หลังจากได้รับพฤติกรรมก้าวร้าวจากลิงตัวอื่น เช่น การขู่ วิ่งไล่
เสียงยอมแพ้ (Submission และกัด หลังจากลิงที่แสดงพฤติกรรมก้าวเห็นการแสดงสีหน้า
call) แบบ Bared teeth จะลดพฤติกรรมก้าวร้าวลง นอกจากนี
การแสดงสีหน้าแบบนี สามารถกระตุ้นให้ลิงตัวอื่นเข้ามาช่วย
ให้พ้นจากลิงที่ก้าลังแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว โดยการขู่ หรือวิ่ง
ไล่ เป็นต้น
3. Lip smack ยกคิ วขึ นลง ยกหัวขึ นลงและ บ่งบอกถึงพฤติกรรมการผูกไมตรี ส่วนใหญ่จะแสดงออกมา
จ้องไปยังลิงตัวอื่น เพื่อเข้าไปประชิดลิงตัวอื่นเพื่อท้าความสะอาด เข้าไปนั่ง
พักผ่อนใกล้กับลิงตัวอื่น นอกจากนี ยังพบในลิงตัวเต็มวัยเพศ
ผู้ใช้ Lip smack เพื่อเพิ่มความสัมพันธ์ระหว่างลิงตัวเต็มวัย
เพศผู้และลดพฤติกรรมก้าร้าว โดยการเข้าไปกอดหรือน้าลิง
ในวัยทารกหรือวัยเด็กเข้าไปในกลุ่มของลิงตัวเต็มวัยเพศผู้
4. Open mouth ยกคิ วค้างไว้ และจ้องไปยังลิงตัว จะแสดงออกมาเพื่อขู่ลิงตัวอื่น เพื่อลดการเข้าปะทะโดยตรง
อื่น และบางครั งส่งเสียงก้าวร้าว กับลิงตัวอื่น โดยลิงจะแสดงออกทางสีหน้าแบบ Open
(Aggressive call) mouth พร้อมกับขนบริเวณหลังและหางตั งขึ นเพื่อแสดง
ความก้าวร้าวที่เพิ่มขึ น หลังจากลิงตัวอื่นที่ได้รับการแสดงออก
ทางสีหน้าแบบ Open mouth จะแสดงสีหน้าแบบ Bared
teeth หรือ Teeth chatter
5. Eye brow จ้องไปยังลิงตัวอื่น บางครั งส่ง จะแสดงออกมาเพื่อขู่ เพื่อลดการเข้าปะทะโดยตรงกับลิงตัว
เสียงก้าวร้าว (Aggressive call) อื่น เหมือนกับ Open mouth แต่ระดับความรุนแรงน้อยกว่า
โดยลิงจะใช้ Eye brow ในกรณีที่มีความขัดแย้งหรือแสดง
พฤติกรรมก้าวร้าวที่ไม่รุนแรง
การแสดงออกทางสีหน้าของลิงวอกภูเขา พบว่ามีรูปแบบและลักษณะที่แตกต่างระหว่างเพศและวัย ซึ่งการ
แสดงออกทางสีหน้าในลิงกลุ่มมาคัคส์ (Macaque) เกี่ยวข้องกับวิวัฒนาการของการสื่อสารระหว่างสมาชิกในฝูง
พฤติกรรมก้าวร้าวและพฤติกรรมทางสังคม (Dobson, 2012) โดยเฉพาะรูปแบบทางสังคม (Social style) และ
รูปแบบของพฤติกรรมก้าวร้าวและพฤติกรรมการผูกไมตรี (Dominance style) (Maestripieri, 1997; Maestripieri,
2005) รูปแบบของพฤติกรรมก้าวร้าวและพฤติกรรมการผูกไมตรี (Dominance style) แบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ 1)
Despotic dominance style คือ มีการแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวสูงกว่าพฤติกรรมการผูกไมตรี 2) Tolerant
dominance style คือ มีการแสดงพฤติกรรมการผูกไมตรีสูงกว่าการแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว (Flack & de Waal,
2004) ถึงแม้การเปรียบเทียบค่าทางสถิติพบว่าลิงตัวเต็มวัยเพศผู้แสดงออกทางสีหน้าไม่แตกต่างจากลิงตัวเต็มวัยเพศ
เมีย แต่จากค่าร้อยละการแสดงสีหน้าพบว่า ลิงตัวเต็มวัยเพศผู้แสดงออกทางสีหน้ามากกว่าลิงตัวเต็มวัยเพศเมีย
สอดคล้องกับการศึกษารูปแบบของพฤติกรรมก้าวร้าวและพฤติกรรมการผูกไมตรี (Dominance style) ของ Cooper
& Bernstein (2008) ที่พบว่าลิงวอกภูเขาจัดอยู่กลุ่มที่มีรูปแบบของ Despotic dominance style อย่างไรก็ตาม
วารสารสัตว์ป่าเมืองไทย ปีที่ 24 พ.ศ. 2560 Journal of Wildlife in Thailand Vol. 24, 2017