Page 81 -
P. 81
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ตารางที่ 6.8 รายได้ ทักษะทางการเงิน ทัศนคติทางด้านความเสี่ยงกับระดับการศึกษา (ต่อ)
แสดงรายได้ ทักษะทางการเงิน ทัศนคติทางด้านความเสี่ยง โดยแบ่งตามระดับการศึกษา ของกลุ่มตัวอย่าง
ทั้งหมด 396 ตัวอย่าง
ระดับการศึกษา
มัธยมศึกษาหรือ
ทั้งหมด ต่ ากว่าประถมศึกษา
ข้อมูล (N=396) ปีที่ 6 เทียบเท่า/ปวช. ปริญญาตรีขึ้นไป
ถึงอนุปริญญา/ปวส. (N=26)
(N=257)
(N=113)
จ านวน % จ านวน % จ านวน % จ านวน %
ทัศนคติทางด้านความเสี่ยง:
เกมเล่นโยนเหรียญ (หัว, ก้อย)
ไม่เสี่ยง 201 50.76 124 48.25 63 55.75 14 53.85
เสี่ยงน้อย-ปานกลาง 90 22.73 62 24.12 24 21.24 4 15.38
เสี่ยงปานกลาง-มาก 49 12.37 36 14.01 12 10.62 1 3.85
เสี่ยงมากที่สุด 56 14.14 35 13.62 14 12.39 7 26.92
จากการเปรียบเทียบกลุ่มตัวอย่างที่มีระดับการศึกษาแตกต่างกัน สรุปได้ว่า ผู้ที่มีการศึกษาระดับ
ปริญญาตรีขึ้นไปมีแนวโน้มที่จะมีรายได้รวมและรายได้จากยางพารา ความรู้ทักษะทางด้านการเงินในสัดส่วนที่
ค่อนข้างดีกว่าผู้ที่มีการศึกษาในระดับอื่น ๆ นอกจากนั้นผู้ที่มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป เป็นพวกที่ชอบ
กล้าได้กล้าเสีย คือกล้าที่จะเลือกเล่นเกมที่มีค่าตอบแทนสูงที่สุดในสัดส่วนที่สูงกว่าผู้ที่มีการศึกษาในระดับอื่นๆ
6.3 ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะทางการเงิน ทัศนคติทางด้านความเสี่ยง ทัศนคติของครัวเรือน กับการ
พึ่งพารายได้จากยางพารา
การพึ่งพารายได้จากยางพาราคิดจากรายได้จากยางพาราต่อรายได้ทั้งหมด ซึ่งแบ่งระดับการพึ่งพารายได้
จากยางพาราออกเป็น 3 ระดับ คือการพึ่งพารายได้จากยางน้อยกว่า 50% (จ านวน 89 ตัวอย่าง) การพึ่งพา
รายได้จากยางพาราระหว่าง 50% - 60% (จ านวน 200 ตัวอย่าง) และการพึ่งพารายได้จากยางพาราระหว่าง
70% - 100% (จ านวน 107 ตัวอย่าง) โดยคณะผู้วิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
ต่าง ๆ ที่น่าสนใจ เช่น ทักษะความรู้ทางด้านการเงิน ทัศนคติทางด้านความเสี่ยง และทัศนคติของครัวเรือน ดัง
แสดงในตารางที่ 6.9
68