Page 82 -
P. 82

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                       กลุ่มตัวอย่างที่มีการพึ่งพารายได้จากยางพาราแตกต่างกันกับทักษะความรู้ทางด้านการเงิน


                       จากการทดสอบจ านวน 4 ข้อในเรื่องเกี่ยวกับการคิดดอกเบี้ยทบต้น ความเข้าใจการเปลี่ยนแปลง

               ค่าเงินตามเวลา ความเข้าใจเรื่องเงินเฟ้อ และการกระจายความเสี่ยง พบว่า กลุ่มตัวอย่างในทุกระดับการพึ่งพา

               รายได้จากยางพารามีทักษะทางการเงินค่อนข้างดี กล่าวคือ ตอบค าถามถูก 3 – 4 ข้อ คิดเป็น 59.09% ตอบ
               ค าถามถูก 2 ข้อ คิดเป็น 30.30% มีเพียง 10.61% เท่านั้นที่ตอบถูกเพียง 1 ข้อหรือไม่ถูกเลย



                       เมื่อวิเคราะห์กลุ่มตัวอย่างที่มีการพึ่งพารายได้จากยางพาราแตกต่างกันเกี่ยวกับการคิดดอกเบี้ยทบต้น
               พบว่า ผู้ที่ตอบค าถามถูกมากที่สุดเป็นกลุ่มตัวอย่างที่มีการพึ่งพารายได้จากยางพารา 50% - 60% คิดเป็น

               75.00% รองลงมาคือ กลุ่มตัวอย่างที่มีการพึ่งพารายได้จากยางพาราน้อยกว่า 50% คิดเป็น 74.16% และกลุ่ม
               ตัวอย่างที่มีการพึ่งพารายได้จากยางพารา 70% - 100% คิดเป็น 58.88%



                       เมื่อวิเคราะห์กลุ่มตัวอย่างที่มีการพึ่งพารายได้จากยางพาราแตกต่างกันเกี่ยวกับความเข้าใจการ
               เปลี่ยนแปลงค่าเงินตามเวลา พบว่า ผู้ที่ตอบค าถามถูกมากที่สุดเป็นกลุ่มตัวอย่างที่มีการพึ่งพารายได้จาก

               ยางพาราน้อยกว่า 50% คิดเป็น 73.03% รองลงมาคือ กลุ่มตัวอย่างที่มีการพึ่งพารายได้จากยางพารา 70% -
               100% คิดเป็น 66.36% และกลุ่มตัวอย่างที่มีการพึ่งพารายได้จากยางพารา 50% - 60% คิดเป็น 60.00%



                       เมื่อวิเคราะห์กลุ่มตัวอย่างที่มีการพึ่งพารายได้จากยางพาราแตกต่างกันเกี่ยวกับความเข้าใจเรื่องเงิน
               เฟ้อ พบว่า ผู้ที่ตอบค าถามถูกมากที่สุดเป็นกลุ่มตัวอย่างที่มีการพึ่งพารายได้จากยางพาราน้อยกว่า 50% คิด

               เป็น 47.19% รองลงมาคือ กลุ่มตัวอย่างที่มีการพึ่งพารายได้จากยางพารา 50% - 60% คิดเป็น 47.00% และ

               กลุ่มตัวอย่างที่มีการพึ่งพารายได้จากยางพารา 70% - 100% คิดเป็น 34.58%


                       เมื่อวิเคราะห์กลุ่มตัวอย่างที่มีการพึ่งพารายได้จากยางพาราแตกต่างกันเกี่ยวกับการกระจายความ

               เสี่ยง พบว่า ผู้ที่ตอบค าถามถูกมากที่สุดเป็นกลุ่มตัวอย่างที่มีการพึ่งพารายได้จากยางพาราน้อยกว่า 50% คิด
               เป็น 92.13% รองลงมาคือ กลุ่มตัวอย่างที่มีการพึ่งพารายได้จากยางพารา 50% - 60% คิดเป็น 89.50% และ

               กลุ่มตัวอย่างที่มีการพึ่งพารายได้จากยางพารา 70% - 100% คิดเป็น 86.92%


                       กลุ่มตัวอย่างที่มีการพึ่งพารายได้จากยางพาราแตกต่างกันกับทัศนคติทางด้านความเสี่ยง


                       จากการสอบถามในการเล่นเกมที่มีโอกาสได้ผลตอบแทนที่แตกต่างกัน พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่มีการ

               พึ่งพารายได้จากยางพาราน้อยกว่า 50% เป็นพวกที่ไม่ชอบความเสี่ยง คือเลือกเล่นเกมที่ได้ผลตอบแทนที่

               แน่นอนถึง 52.81% รองลงมา คือกลุ่มตัวอย่างที่มีการพึ่งพารายได้จากยางพารา 50% - 60%  คิดเป็น
               51.50% และกลุ่มตัวอย่างที่มีการพึ่งพารายได้จากยางพารา 70% - 100% คิดเป็น 47.66%





                                                                                                        69
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87