Page 85 -
P. 85
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ตารางที่ 6.9 ความรู้ทางด้านการเงิน ทัศนคติทางด้านความเสี่ยง และทัศนคติของครัวเรือน กับการพึ่งพา
รายได้จากยางพารา (ต่อ)
แสดงทักษะความรู้ทางด้านการเงิน ทัศนคติทางด้านความเสี่ยง และทัศนคติของครัวเรือนแบ่งตามการพึ่งพา
รายได้จากยางพาราของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 396 ตัวอย่าง
การพึ่งพารายได้จากยาง
ทั้งหมด รายได้จากยาง รายได้จากยาง รายได้จากยาง
ข้อมูล (N=396) น้อยกว่า 50% 50% - 60% 70% - 100%
(N=89) (N=200) (N=107)
จ านวน % จ านวน % จ านวน % จ านวน %
ความพึงพอใจในสถานภาพทางเศรษฐกิจของครัวเรือน
น้อย (คะแนน 1-3) 15 3.79 1 1.12 9 4.50 5 4.67
ปานกลาง (คะแนน 4-7) 182 45.96 46 51.69 96 48.00 40 37.38
มาก (คะแนน 8-10) 199 50.25 42 47.19 95 47.50 62 57.94
ความสุขโดยรวมของครัวเรือน
น้อย (คะแนน 1-3) 4 1.01 0 0.00 2 1.00 2 1.87
ปานกลาง (คะแนน 4-7) 98 24.75 22 24.72 45 22.50 31 28.97
มาก (คะแนน 8-10) 294 74.24 67 75.28 153 76.50 74 69.16
การได้รับความช่วยเหลือจากเครือข่ายทางสังคม
จ านวนที่สูญเสียทั้งหมด 61 15.40 17 19.10 28 14.00 16 14.95
ประมาณครึ่งหนึ่งของที่สูญเสียทั้งหมด 59 14.90 14 15.73 24 12.00 21 19.63
น้อยกว่าครึ่งหนึ่งของที่สูญเสียทั้งหมด 42 10.61 11 12.36 22 11.00 9 8.41
ได้รับน้อยมากหรือไม่ได้รับเลย 234 59.09 47 52.81 126 63.00 61 57.01
จากการเปรียบเทียบกลุ่มตัวอย่างที่มีการพึ่งพารายได้จากยางพาราแตกต่างกัน สรุปได้ว่า กลุ่มตัวอย่างที่มี
การพึ่งพารายได้จากยางพาราในทุกระดับมีทักษะทางด้านการเงินค่อนข้างดี แต่มีความเข้าใจเรื่องเงินเฟ้อน้อย
ที่สุด อีกทั้งยังเป็นพวกที่ไม่ชอบความเสี่ยง กล่าวคือเลือกเล่นเกมที่ได้ผลตอบแทนที่แน่นอน นอกจากนั้นเมื่อ
สอบถามเกี่ยวกับทัศนคติความเป็นอยู่ของครัวเรือน พบว่ากลุ่มตัวอย่างที่มีการพึ่งพารายได้จากยางพาราในทุก
ระดับมีความพึงพอใจในชีวิตความเป็นอยู่ของครัวเรือนอยู่ในระดับมาก แต่เมื่อสอบถามเกี่ยวกับความพึงพอใจ
ทางด้านสถานภาพทางเศรษฐกิจของครัวเรือน พบว่ามีระดับที่ลดลง ส าหรับความสุขโดยรวมของครัวเรือนมี
ลักษณะคล้ายคลึงกับความพึงพอใจในชีวิตความเป็นอยู่ของครัวเรือน ดังนั้นอาจสรุปได้ว่ากลุ่มตัวอย่างที่มีการ
พึ่งพารายได้จากยางพาราในทุกระดับมีความสุขแต่อาจมีความกังวลใจทางด้านสภาพเศรษฐกิจ
72