Page 76 -
P. 76
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ตารางที่ 6.6 ทัศนคติทางด้านความเสี่ยงและปัญหาของครัวเรือน (ต่อ)
แสดงข้อมูลเกี่ยวกับทัศนคติทางด้านความเสี่ยงจากเกมโยนเหรียญที่ปรับจาก Binswanger (1980) ต้นทุนค่า
เสียโอกาสโดยแปลงเป็นอัตราดอกเบี้ยต่อเดือน (Implied Interest Rate) และการประสบปัญหาในอดีตที่
ผ่านมา ตลอดจนความเสี่ยงหลักในการปลูกยางพาราของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 396 ตัวอย่างแยกตามราย
จังหวัด
ภาคใต้ ภาคอีสาน ภาคตะวันออก
ทั้งหมด จ.สงขลา จ.อุบลราชธานี จ.จันทบุรี
ข้อมูล (N=396)
(n=251) (n=102) (n=43)
จ านวน % จ านวน % จ านวน % จ านวน %
การประสบปัญหาในรอบปีที่ผ่านมา
ภัยธรรมชาติ ผลผลิตเสียหาย 326 28.27 162 23.89 113 34.24 51 35.17
ราคาผลผลิตตกต่ า 331 28.71 195 28.76 95 28.79 41 28.28
ผลผลิตตกต่ า 265 22.98 160 23.60 77 23.33 28 19.31
มีภาระค่าใช้จ่ายพิเศษ 158 13.70 111 16.37 27 8.18 20 13.79
(ค่าเล่าเรียนลูก/ชราภาพ เจ็บป่วย)
มีภาระหนี้สินหลายแห่ง 73 6.33 50 7.37 18 5.45 5 3.45
การประสบปัญหาในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา [ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ]
ภัยธรรมชาติ ผลผลิตเสียหาย 362 30.60 195 27.78 114 34.23 53 35.81
ราคาผลผลิตตกต่ า 315 26.63 187 26.64 90 27.03 38 25.68
ผลผลิตตกต่ า 266 22.49 163 23.22 75 22.52 28 18.92
มีภาระค่าใช้จ่ายพิเศษ 161 13.61 106 15.10 32 9.61 23 15.54
(ค่าเล่าเรียนลูก/ชราภาพ เจ็บป่วย)
มีภาระหนี้สินหลายแห่ง 79 6.68 51 7.26 22 6.61 6 4.05
ความเสี่ยงหลักในการปลูกยางพารา
ราคายาง 386 97.47 245 97.61 100 98.04 41 95.35
ต้นทุนวัตถุดิบ 4 1.01 4 1.59 0 0.00 0 0.00
ภัยพิบัติ/โรคจากแมลง 6 1.52 2 0.80 2 1.96 2 4.65
ตารางที่ 6.7 สอบถามกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับความพึงพอใจในชีวิตความเป็นอยู่ของครัวเรือน จะเห็นว่า
โดยรวมกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในชีวิตความเป็นอยู่ของครัวเรือนในระดับมากถึง 71.46%
รองลงมา คือมีความพึงพอใจในชีวิตความเป็นอยู่ของครัวเรือนในระดับปานกลาง คิดเป็น 27.27% และมีความ
พึงพอใจในชีวิตความเป็นอยู่ของครัวเรือนในระดับน้อยเพียง 1.26% โดยกลุ่มตัวอย่างในภาคใต้มีความพึง
พอใจในชีวิตความเป็นอยู่ในระดับมากสูงกว่ากลุ่มตัวอย่างในภาคอีสานและภาคตะวันออก แต่เมื่อสอบถาม
กลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับความพึงพอใจทางด้านสถานภาพทางเศรษฐกิจของครัวเรือน มีความพึงพอใจในระดับ
มากลดลงเหลือเพียง 50.25% ส าหรับความสุขโดยรวมของครัวเรือน จะเห็นว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มี
ความสุขโดยรวมในระดับมากถึง 74.24% รองลงมา คือมีความสุขโดยรวมในระดับปานกลาง คิดเป็น 24.75%
63