Page 71 -
P. 71

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





               เพาะปลูกยางอยู่ระหว่าง 21-30 ปี คิดเป็น 51.16% อีกทั้งเหตุผลที่กลุ่มตัวอย่างเลือกอาชีพปลูกยางส่วนใหญ่

               ถึง 35.20% เพราะเป็นอาชีพดั้งเดิมที่ท ากันมา เหตุผลรองลงมา คือเป็นพืชที่เพาะปลูกและดูแลง่าย คิดเป็น
               23.09% และพื้นที่มีสภาพที่เหมาะสมในการปลูกยาง 20.69% โดยรวมแล้วมีเกษตรกรเพียง 10.29% ที่คิดว่า

               การปลูกยางมีผลก าไรคุ้มค่า แต่สัดส่วนนี้เกิดจากการที่กลุ่มตัวอย่างในภาคอีสานเกือบ 30% คิดว่าการปลูก

               ยางมีผลก าไรคุ้มค่า ในขณะที่กลุ่มตัวอย่างในภาคใต้และภาคตะวันออกเพียงประมาณ 9.62% เท่านั้นที่คิดว่า
               การปลูกยางคุ้มค่า นอกจากนั้นเหตุผลในการปลูกยาง คือการที่มีรัฐบาลสนับสนุน คิดเป็น 10.29% โดยเฉพาะ

               อย่างยิ่ง 20.34% ของกลุ่มตัวอย่างในภาคตะวันออก และ 17.13% ในภาคอีสานมีสาเหตุจากการสนับสนุน
               จากรัฐบาล แต่ในขณะที่กลุ่มตัวอย่างเพียง 6.77% ในภาคใต้ตอบเหตุผลนี้ ส าหรับผลิตภัณฑ์ยางที่เกษตรกร

               ขายเป็นหลัก คือน้ ายางดิบ คิดเป็น 66.67% รองลงมา คือ ยางถ้วย คิดเป็น 30.81% และมีเพียง 2.53%

               เท่านั้นที่ขายยางแผ่นรมควัน เมื่อพิจารณาแยกตามภาค พบว่า กลุ่มตัวอย่างในภาคตะวันออกและภาคอีสาน
               ส่วนใหญ่ขายยางถ้วยเป็นหลัก คิดเป็น 95.35% และ 75.49% ตามล าดับ ในขณะที่กลุ่มตัวอย่างในภาคใต้ส่วน

               ใหญ่ขายน้ ายางดิบถึง 96.81%


               ตารางที่ 6.4 ลักษณะการปลูกยางและการรู้จักรวมทั้งความต้องการใช้ตลาดยางพาราล่วงหน้า

               แสดงลักษณะการปลูกยางและการรู้จักรวมทั้งความต้องการใช้ตลาดยางพาราล่วงหน้าของกลุ่มตัวอย่าง
               ทั้งหมด 396 ตัวอย่างแยกตามรายจังหวัด โดยส่วนที่ 1 แสดงลักษณะการปลูกยาง เช่น การท าเกษตรเชิงเดี่ยว

               พื้นที่การปลูกยาง ในส่วนที่ 2 แสดงการรู้จักตลาดซื้อขายยางพาราล่วงหน้าและความต้องการใช้ตลาด TFEX

               เพื่อป้องกันความเสี่ยงของเกษตรกร


                                                               ภาคใต้         ภาคอีสาน        ภาคตะวันออก
                                                ทั้งหมด
                           ข้อมูล              (N=396)         จ.สงขลา       จ.อุบลราชธานี      จ.จันทบุรี
                                                               (n=251)         (n=102)          (n=43)
                                           จ านวน    %     จ านวน    %     จ านวน    %      จ านวน    %

                ส่วนที่ 1 ลักษณะทางด้านการปลูกยาง:
                อาชีพ
                ปลูกยางอย่างเดียว             65     16.41    58    23.11       3     2.94      4      9.30
                ปลูกยาง และท าการเกษตรอื่น    208    52.53    96    38.25      87    85.29     25     58.14
                ปลูกยาง และมีอาชีพนอกภาคเกษตร   123   31.06   97    38.65      12    11.76     14     32.56
                พื้นที่การเพาะปลูกยาง (ไร่)
                ค่าเฉลี่ย                       17.04           12.64           20.97            33.40
                ค่าต่ าสุด                        1              1               3                8
                ค่าสูงสุด                        95              49              95               80











                                                                                                        58
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76