Page 74 -
P. 74
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ตารางที่ 6.5 ทักษะความรู้ทางด้านการเงิน (ต่อ)
แสดงข้อมูลทักษะความรู้ทางด้านการเงินของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 396 ตัวอย่างแยกตามรายจังหวัด การ
ทดสอบความรู้ทักษะทางด้านการเงินมาตรฐานจ านวน 4 ข้อที่ประยุกต์จาก Lusardi and Mitchell (2007)
ในเรื่องเกี่ยวกับการคิดดอกเบี้ยทบต้น ความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงค่าเงินตามเวลา ความเข้าใจเรื่องเงินเฟ้อ
และการกระจายความเสี่ยง
ภาคใต้ ภาคอีสาน ภาคตะวันออก
ทั้งหมด จ.สงขลา จ.อุบลราชธานี จ.จันทบุรี
ข้อมูล (N=396)
(n=251) (n=102) (n=43)
จ านวน % จ านวน % จ านวน % จ านวน %
ดอกเบี้ยทบต้น
ตอบถูก 279 70.45 160 63.75 83 81.37 36 83.72
ตอบผิด 117 29.55 91 36.25 19 18.63 7 16.28
การเปลี่ยนแปลงค่าเงินตามเวลา
ตอบถูก 256 64.65 162 64.54 68 66.67 26 60.47
ตอบผิด 140 35.35 89 35.46 34 33.33 17 39.53
ค่าเงินเฟ้อ
ตอบถูก 173 43.69 117 46.61 19 18.63 37 86.05
ตอบผิด 223 56.31 134 53.39 83 81.37 6 13.95
การกระจายความเสี่ยง
ตอบถูก 354 89.39 220 87.65 97 95.10 37 86.05
ตอบผิด 42 10.61 31 12.35 5 4.90 6 13.95
จากการสอบถามในการเล่นเกมที่มีโอกาสได้ผลตอบแทนที่แตกต่างกัน แสดงให้เห็นว่าโดยรวมแล้วกลุ่ม
ตัวอย่างถึง 50.76% เป็นพวกที่ไม่ชอบความเสี่ยง คือเลือกเล่นเกมที่ได้ผลตอบแทนที่แน่นอน ประมาณ
22.73% เลือกเล่นเกมที่ได้รับผลตอบแทนที่เสี่ยงน้อยถึงปานกลาง 12.37% เลือกเล่นเกมที่เสี่ยงปานกลางถึง
มาก และ 14.14% เลือกเล่นเกมที่มีความเสี่ยงมากที่สุด เมื่อพิจารณาแยกตามภาค กลุ่มตัวอย่างในภาคใต้และ
ภาคอีสานจะมีลักษณะที่คล้ายกัน แต่ส าหรับกลุ่มตัวอย่างในภาคตะวันออก พบว่ามีลักษณะที่แตกต่างออกไป
คือไม่เสี่ยงหรือเสี่ยงมากไปเลย กล่าวคือ 72.09% เลือกเล่นเกมที่ไม่เสี่ยง และ 18.60% เลือกเล่นเกมที่เสี่ยง
มากที่สุดมีประมาณ 9.30% เท่านั้นที่เลือกเล่นเกมที่เสี่ยงน้อยถึงมาก เมื่อสอบถามถึงความเสี่ยงทางด้านสภาพ
คล่องโดยค านวณจากดอกเบี้ยที่กลุ่มตัวอย่างต้องการถ้าเลื่อนการได้รับเงินออกไปในอนาคต แสดงให้เห็นว่า
อัตราดอกเบี้ยที่กลุ่มตัวอย่างต้องการโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 7.55 ต่อเดือน โดยกลุ่มตัวอย่างในภาคอีสานต้องการอัตรา
ดอกเบี้ยโดยเฉลี่ยสูงถึง 18.71 ต่อเดือน รองลงมา คือภาคใต้ 4.00 ต่อเดือน และภาคตะวันออก 1.82 ต่อ
เดือน
61