Page 111 -
P. 111
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ตารางที่ 7.10 ปฏิสัมพันธ์ของการเก็บข๎าวในยุ๎งสังกะสีด๎วยวิธีการเก็บรักษาข๎าว 2 ชนิด ที่ระยะเวลาเก็บรักษานาน
6 เดือน
ชนิดข้าว ระยะเวลา ในกองข้าว ความชื้น เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซ็นต์ ปริมาณ
(เดือน) อุณหภูมิ ความชื้น ข้าวเปลือก ต้นข้าว ท้องไข่ เมล็ดหัก 2AP
o
( C) (%) (%) (%) (%) (%) (µg/g)
ข๎าวอินทรีย์ 1 28.04 G 10.79 G 13.00 65.68 DEF 2.32 E 31.04 C 0.449 A
2 30.90 F 12.92 D 10.99 74.37 AB 2.96 C 19.20 H 0.252 B
3 31.85 DE 12.73 E 9.95 74.27 AB 3.27 B 19.90 GH 0.127 G
4 32.58 BC 13.39 A 9.24 74.68 A 3.70 A 20.98 FG 0.215 C
5 33.13 A 12.90 DE 10.28 71.17 C 2.69 D 26.10 E 0.190 E
6 33.00 AB 12.93 D 10.35 71.22 C 2.56 DE 25.13 E 0.165 F
ข๎าวทั่วไป 1 27.73 G 11.13 F 13.45 56.84 G 1.26 H 39.74 A 0.210 CD
2 31.71 E 13.30 AB 11.27 66.76 DE 1.92 F 29.29 D 0.212 C
3 32.31 CD 12.85 DE 9.38 72.48 BC 1.65 G 22.03 F 0.125 G
4 32.88 AB 13.16 BC 9.52 67.48 D 1.11 H 28.09 D 0.191 DE
5 32.75 ABC 13.00 CD 10.26 64.62 F 1.16 H 32.80 B 0.202 CDE
6 32.54 BC 13.22 AB 10.35 65.16 EF 1.28 H 30.93 C 0.167 F
หมายเหตุ: ตัวอักษรที่ก ากับในสดมภ์ที่เหมือนกันแสดงวําไมํตํางกันทางสถิติที่ความเชื่อมั่น p≤0.05 เมื่อเปรียบเทียบคําเฉลี่ยด๎วย LSD
ปฏิสัมพันธ์ระหวํางชนิดข๎าวกับวิธีการเก็บและระยะเวลาการเก็บรักษาข๎าว พบวําอุณหภูมิและ
ความชื้นในกองข๎าว และคําความชื้นของข๎าวเปลือก ไมํแตกตํางกันอยํางมีนัยส าคัญ (ตารางที่ 7.12) ข๎าวอินทรีย์ที่
เก็บในกระสอบน้ าตาลเกําเดือนที่ 5 มีเปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวสูงที่สุดเทํากับ 79.50% แตํไมํตํางกับการเก็บในกระสอบ
ป่านเกําที่ 3 4 และ 6 เดือน การเก็บในกระสอบน้ าตาลใหมํที่ 2 และ 4 เดือน การเก็บในกระสอบน้ าตาลเกําที่ 2 3
และ 4 เดือน การเก็บในกระสอบอาหารสัตว์ใหมํที่ 2 และ 6 เดือน การเก็บในกระสอบอาหารสัตว์เกําที่ 2 เดือน
การเก็บในถุงตาขํายที่ 2 3 และ 4 เดือน การเก็บแบบกองที่ 3 และ 4 เดือน ข๎าวทั่วไปที่เก็บในกระสอบป่านที่ 3
เดือน การเก็บในถุงตาขํายและเก็บกองในเดือนที่ 3 (ตารางที่ 7.12) ทั้งนี้จะเห็นได๎วําเมื่อเก็บข๎าวเป็นระยะเวลา
ยาวนานขึ้นเปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวจะมีแนวโน๎มลดลงโดยเฉพาะในชํวงเดือนท๎ายๆ (ภาพที่ 7.7) ยกเว๎นเปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าว
ในเดือนแรกสอดคล๎องกับผลการทดลองในยุ๎งไม๎
ข๎าวทั่วไปที่เก็บในกระสอบปุ๋ยแบบเคลือบใหมํ เดือนที่ 5 มีเปอร์เซ็นต์ท๎องไขํต่ าที่สุดเทํากับ 0.29% แตํ
ไมํตํางกับการเก็บข๎าวทั่วไปที่เก็บในกระสอบป่านเกําและกระสอบน้ าตาลใหมํเดือนที่ 1 3 5 และ 6 เก็บในกระสอบ
น้ าตาลเกําเดือนที่ 1 2 4 5 และ 6 การเก็บในกระสอบปุ๋ยแบบเคลือบใหมํเดือนที่ 1 4 และ 6 การเก็บในกระสอบ
อาหารสัตว์ใหมํเดือนที่ 4 และ 5 การเก็บในกระสอบอาหารสัตว์เกําเดือนที่ 6 และการเก็บในถุงตาขํายเดือนที่ 1 5
และ 6
ข๎าวทั่วไปที่เก็บแบบเทกองเดือนที่ 3 เดือนมีเปอร์เซ็นต์เมล็ดหักต่ าที่สุด 14.76% แตํไมํตํางกับข๎าว
อินทรีย์ที่เก็บในกระสอบป่านเกําเดือนที่ 3 การเก็บในกระสอบน้ าตาลใหมํเดือนที่ 2 การเก็บในกระสอบน้ าตาลเกํา
เดือนที่ 2 3 และ 5 การเก็บในกระสอบปุ๋ยเคลือบใหมํและกระสอบอาหารสัตว์เกําเดือนที่ 2 การเก็บในถุงตาขําย
เดือนที่ 2 และ 3 การเก็บแบบเทกองเดือนที่ 4 ข๎าวทั่วไปที่เก็บในกระสอบป่านเกําเดือนที่ 3 และการเก็บในถุงตา
ขํายเดือนที่ 4 (ตารางที่ 7.12) แตํทั้งนี้ลักษณะเปอร์เซ็นต์ท๎องไขํ (ภาพที่ 7.8) และเปอร์เซ็นต์เมล็ดหัก (ภาพที่ 7.9)
คํอนข๎างมีความแปรปรวนในแตํละเดือน
ข๎าวอินทรีย์ที่เก็บในกระสอบอาหารสัตว์เกําและกระสอบน้ าตาลเกําเดือนที่ 1 มีปริมาณ 2AP สูงที่สุด
เทํากับ 0.564 และ 0.523 µg/g ตามล าดับ (ตารางที่ 7.6) โดยสาร 2AP ในข๎าวอินทรีย์จะลดปริมาณลงอยําง
รวดเร็วในเดือนที่ 2 และมีแนวโน๎มโดยรวมลดต่ าลงเรื่อยๆ เมื่อมีการเก็บรักษาที่ยาวนานขึ้น (ภาพที่ 7.10)
83