Page 137 -
P. 137

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

























                          ภาพที่ 4.2  แสดงการหว่านปูนในพื้นที่นาเปรี้ยวจัด ก่อนไถคลุกเคล้ากับดิน






                        การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของดินเปรี้ยวจัดหลังการใส่ปูนมาร์ล พบว่า ดินมี pH เพิ่มขึ้น
            ตามปริมาณปูนที่ใส่มากขึ้น  ปริมาณแคลเซียมสูงขึ้นตามอัตราปูนที่สูงขึ้น  เพิ่มความเป็นประโยชน์ของ
            ธาตุอาหาร  ลดความเป็นพิษของเหล็ก  อะลูมินัม  ข้าวที่ปลูกในดินเปรี้ยวจัดที่มีการปรับปรุงดินด้วยปูน

            ในอัตราที่เหมาะสมจึงเจริญเติบโตและให้ผลผลิตสูงขึ้น เช่น ในดินเปรี้ยวจัดชุดดินรังสิตกรดจัด มี pH 4.4
            ใส่ปูนมาร์ลอัตรา 1,426 กิโลกรัมต่อไร่ ความเป็นกรดลดลง มี pH สูงขึ้นเป็น 5.6 พบว่า ข้าวให้ผลผลิต

            เพิ่มขึ้นจากเดิม 148 กิโลกรัมต่อไร่ เป็น 462 กิโลกรัมต่อไร่ เพิ่มขึ้น 314 กิโลกรัมต่อไร่ มีเปอร์เซ็นต์
            การตอบสนองสูงถึง 210 (ตารางที่ 4.5)



            ตารางที่ 4.5   แสดงการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของดินเปรี้ยวจัดชุดดินรังสิตกรดจัด



               อัตราปูน      pH        Ext.Ca            Ext.Fe      Ext.Al 3+  ผลผลิตข้าว  %
                                            2+
                                                        3+
               (กก./ไร่)                        me/100 gm soil             กก./ไร่   การตอบสนอง
                    0        4.4        1.73         9.3        4.1         148           0

                  770        4.8        2.04         6.7        2.1         273           83
                1,187        5.2        2.20         6.5        0.7         396          166

                1,426        5.6        2.73         6.4        0.5         462          210

                1,593        6.0        3.84         6.7        0.3         420          182

             ที่มา : ดัดแปลงจาก จุมพล (2531)






                    ดิน ธาตุอาหารและปุ๋ยข้าว                       ดินนาที่เป็นปัญหาต่อการปลูกข้าว  133
   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142