Page 233 -
P. 233

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                        คุณภาพดินเพื่อการเกษตร




                         ก�รไถพรวนแบบอนุรักษ์ร่วมกับก�รใช้พืชคลุมดิน จะให้ผลเสริมกัน (synergistic effect)
            ซึ่งจะเกิดผลดีม�กต่อก�รเสริมสร้�งคุณภ�พดินและก�รผลิตพืช

                         3) เพิ่มอินทรียวัตถุ: ใบที่ร่วงหล่นตลอดช่วงที่พืชยังมีชีวิต และก�รไถกลบในขั้นสุดท้�ย
            ช่วยเพิ่มอินทรียวัตถุในดิน ก�รเพิ่มพูนอินทรียวัตถุทีละน้อยอย่�งต่อเนื่อง จะช่วยให้สมบัติท�งฟิสิกส์ เคมี

            และชีวภ�พของดินดีขึ้น
                         4) กระตุ้นวงจรธ�ตุอ�ห�ร:  พืชคลุมดินที่เป็นพืชตระกูลถั่ว  จะเพิ่มเติมไนโตรเจนให้แก่
            ดินจ�กก�รตรึงไนโตรเจนของจุลินทรีย์ในปมร�กถั่ว  ร�กพืชคลุมดินดูดธ�ตุอ�ห�รม�จ�กดินล่�งม�สะสม

            ไว้ในร�กและส่วนเหนือ  ในขณะที่สร้�งมวลชีวภ�พ  ทั้งธ�ตุอ�ห�รและมวลชีวภ�พจะคืนกลับสู่ดินเมื่อใบ
            พืชร่วงหล่นหรือหลังจ�กพรวนกลบลงไปในดิน

                         5) ควบคุมวัชพืช:  ร่มเง�ของใบพืชคลุมดิน  ช่วยยับยั้งก�รงอกของเมล็ดวัชพืช  และ
            ควบคุมก�รเจริญเติบโตของวัชพืช
                         6) เกิดคว�มหล�กหล�ยท�งชีวภ�พในระบบก�รปลูกพืช

                     2.1.2 ข้อจำ�กัดของก�รปลูกพืชคลุมดิน
                         ก�รปลูกพืชคลุมที่ทำ�กันในขณะนี้พบในสวนไม้ผลและสวนย�ง  โดยปลูกพืชคลุมในสวน

            ไม้ผลและสวนย�งใหม่เพื่อรอเวล�ให้พืชหลักเจริญเติบโตจนมีร่มเง�ของทรงพุ่มคลุมพื้นที่เท่�นั้น  ส่วนใน
            ระบบก�รปลูกพืชอื่นๆ ไม่นิยมทำ�กัน เนื่องจ�กส�เหตุ 3 ประก�ร คือ สิ้นเปลืองค่�ใช้จ่�ย เสียโอก�ส และ
            เห็นผลช้� ดังนี้

                         1) เพิ่มต้นทุนก�รผลิตในรอบปี   เนื่องจ�กต้องเตรียมดินและจัดห�เมล็ดพันธุ์ม�ปลูก
            โดยไม่มีผลผลิตที่ข�ยเป็นร�ยได้

                         2) เสียโอก�สในก�รปลูกพืชเศรษฐกิจที่ส�ม�รถนำ�ผลผลิตไปข�ยได้  นอกจ�กนี้ยังไม่
            สะดวกในก�รจัดช่วงเวล�เพื่อก�รปลูกพืชคลุมดิน
                         3) เห็นผลช้�และผลไม่ชัดเจน  เนื่องจ�กก�รปลูกพืชคลุมดินหวังผลด้�นก�รอนุรักษ์ดิน

            และนำ้�และก�รฟื้นฟูคุณภ�พดิน ซึ่งไม่ส�ม�รถประเมินเป็นตัวเงินได้ แม้บ�งอย่�งจะประเมินเป็นตัวเงินได้
            เช่น ส�ม�รถลดก�รใช้ปุ๋ยไนโตรเจนลงบ�งส่วน แต่อ�จยังไม่เห็นผลชัดเจนในปีแรก เนื่องจ�กก�รปลูกพืช

            คลุมดินในระบบก�รปลูกพืช เป็นกิจกรรมที่หวังผลระยะย�วและค่อยเป็นค่อยไป
                     2.1.3 พืชคลุมดินสำ�หรับไม้ผลและย�งพ�ร�
                         พืชคลุมดินสำ�หรับไม้ยืนต้นควรเป็นพืชที่ขึ้นง่�ยทั้งในดินดีและดินเลว มีก�รเจริญเติบโต

            เร็ว  มีกิ่งก้�นส�ข�ม�ก  และส่วนยอดอ่อนนุ่มมีนำ้�ม�ก  พืชตระกูลถั่วที่จะแนะนำ�ให้เกษตรกรใช้ปลูกเป็น
            พืชคลุมดินในสวนไม้ผล-ไม้ยืนต้นมี 4 ชนิด คือ ค�โลโปโกเนียม เซ็นโตรซีม�หรือถั่วล�ย เพอร�เรีย และ

            ซีรูเลียม  ก�รทำ�สวนผลไม้โดยทั่วไปแล้ว  เจ้�ของสวนมิได้ไถพรวนบ่อยๆ  ก�รปลูกพืชคลุมดินจึงเป็น
            สิ่งจำ�เป็นม�ก  แม้ว่�จะมีดินดีอยู่แล้วก็ต�ม  เนื่องจ�กพืชคลุมดินจะช่วยให้ต้นไม้ได้รับประโยชน์หล�ย
            ประก�ร



                                                                สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย     229
   228   229   230   231   232   233   234   235   236   237   238