Page 230 -
P. 230

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
          คุณภาพดินเพื่อการเกษตร





                      4) ก�รเตรียมดินด้วยวิธีก�รไถพรวนน้อยที่สุด (minimum tillage) เป็นก�รไถพรวน
          เท่�ที่จำ�เป็น  ไม่รบกวนผิวดินทั้งหมดทำ�เพียงเพื่อให้ปลูกพืชได้และพืชเจริญเติบโตได้เท่�นั้น  พื้นที่ส่วน

          ม�กยังมีเศษซ�กพืชปกคลุม
                      5) ก�รไถพรวนที่ลดจำ�นวนครั้งและเครื่องมือ (reduced tillage) มีก�รใช้เครื่องมือ
          ในก�รเตรียมดินน้อยครั้งและน้อยชนิดกว่�ก�รไถพรวนแบบร่วมสมัย เพื่อลดต้นทุนในก�รผลิต

                      6) ก�รไถพรวนย่อยดินบนเพื่อลดก�รระเหยนำ้� (mulch tillage) เป็นก�รไถพรวนที่
          คงเศษซ�กพืชไว้บนผิวดิน และปกคลุมดินไม่น้อยกว่� 30% ของพื้นที่ โดยกระทำ�เพียงย่อยหน้�ดินเพื่อ

          ลดก�รระเหยนำ้�ที่ผิวดิน
                      7) ไม่ไถพรวน (no tillage) และไถพรวนแนวแคบ (strip tillage) เป็นก�รปลูกพืช
          ลงไปในดินโดยไม่ไถพรวน  หรือไถพรวนเป็นแถบแคบเฉพ�ะที่ต้องก�รปลูกพืช  ส่วนผิวดินที่เหลือไม่ถูก

          รบกวน
                       เมื่อพิจ�รณ�กิจกรรมก�รเตรียมดินของวิธีก�รที่ 2 ถึง 7แล้ว อ�จถือได้ว่�วิธีที่ 2 ถึง 7

          เป็นก�รเตรียมดินแบบอนุรักษ์ เพร�ะมีวัตถุประสงค์เดียวกัน คือ รบกวนดินน้อยลง มีเศษซ�กพืชคลุมดิน
          ม�กขึ้น  ซึ่งเป็นม�ตรก�รที่ช่วยลดก�รกร่อนดิน  เพียงแต่มีร�ยละเอียดของกิจกรรมแตกต่�งกันบ�งส่วน
          จึงเรียกชื่อต่�งกัน

                   1.2.5 ก�รจัดก�รคุณภ�พดินด้วยก�รเตรียมดิน
                       ในแง่ของก�รจัดก�รคุณภ�พดิน  ห�กเป็นไปได้ควรใช้วิธีก�รเตรียมดินด้วยก�รไถพรวน

          น้อยที่สุด (minimum tillage) และก�รเตรียมดินด้วยก�รไถพรวนแบบอนุรักษ์ (conservation tillage)
          ซึ่งจะช่วยลดก�รกร่อนดินลงได้ม�กในพื้นที่ซึ่งมีคว�มเสี่ยงต่อก�รกร่อนดิน
                       เนื่องจ�กตัวชี้บอกที่สำ�คัญของคุณภ�พดิน  คือ  ปริม�ณอินทรียวัตถุและคว�มหน�แน่น

          รวมซึ่งบ่งชี้ถึงก�รอัดแน่นของดิน  ก�รปฏิบัติในแปลงปลูกพืชที่คงเศษซ�กพืชไว้ในดิน  และป้องกันก�ร
          อัดตัวแน่นของดิน จึงเป็นสิ่งที่พึงประสงค์ ก�รไถพรวนแบบอนุรักษ์และก�รไถพรวนน้อยที่สุด จึงเป็นวิธี

          ที่ช่วยให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่�ว
                   1.2.6 ผลของก�รไถพรวนแบบอนุรักษ์
                       ก�รเตรียมดินด้วยก�รไถพรวนแบบอนุรักษ์  มีก�รรบกวนดินน้อยกว่�ก�รไถพรวนแบบ

          ร่วมสมัย  แต่สภ�พพื้นที่ดูจะไม่ค่อยเรียบร้อยและเกษตรกรไม่คุ้นเคย  แต่ก�รไถพรวนแบบอนุรักษ์ก็มีทั้ง
          ข้อดีและข้อด้อย

                      1) ข้อดีของก�รไถพรวนแบบอนุรักษ์
                         (1) ลดก�รกร่อนดินลง  60-90%  ขึ้นอยู่กับวิธีก�รที่ใช้  เศษซ�กพืชที่ปกคลุมผิวดิน
          ทำ�หน้�ที่เป็นลดแรงกระแทกของเม็ดฝนต่อผิวดิน  จนกระทั่งพืชเจริญเติบโตและทรงพุ่มปกคลุมผิวดินอีก

          ชั้นหนึ่ง




      226        สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย
   225   226   227   228   229   230   231   232   233   234   235