Page 225 -
P. 225

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                        คุณภาพดินเพื่อการเกษตร






                                  Compaction Depth (in.)  12  13  15  15  15


                                     4
                                     8
                                             12
                                                       12
                                                                12
                                              6
                                                       9
                                                                9
                                                                         12
                                                                          9
                                    16
                                                       6
                                                                6
                                              3
                                                                          6
                                                       3
                                    20
                                    24
                                        Axle Load               3         3  psi
                    ภ�พที่ 10.1 ก�รอัดตัวของดินเนื่องจ�กก�รกดทับของล้อย�นพ�หนะที่ระดับคว�มลึกต่�งๆ
                     ก�รควบคุมก�รจร�จรในฟ�ร์ม คือ ก�รกำ�หนดให้รถที่ใช้ในก�รปฏิบัติง�นในฟ�ร์มทุกประเภท
            และทุกกิจกรรมแล่นไปในแนวเดิมเสมอ  เพื่อให้ก�รกดทับของล้อรถแล้วเกิดผลกระทบจนดินมีก�รอัด
            ตัวนั้น  ครอบคลุมพื้นที่ของแปลงปลูกพืชน้อยที่สุด  สำ�หรับก�รใช้รถในฟ�ร์มขน�ดใหญ่มีหล�ยชนิด  เช่น
            ใช้เพื่อก�รปรับพื้นที่  ไถพรวน  ฉีดพ่นส�รเคมี  ใส่ปุ๋ย  เก็บเกี่ยว  และบรรทุกผลผลิต  จ�กก�รศึกษ�ของ

            มห�วิทย�ลัยเนบร�สก� (ภ�พที่ 10.2) แสดงว่�เมื่อทิศท�งก�รวิ่งของรถประเภทต่�งๆ เป็นแบบสุ่ม จะ
            ทำ�ให้ก�รอัดตัวของดินในแปลงเกิดขึ้นแบบกระจัดกระจ�ยไปทั่วทั้งบริเวณ  และมีผลกระทบในพื้นที่ส่วน

            ม�ก  แต่ถ้�มีก�รว�งแผนให้แนวก�รเคลื่อนที่ของย�นพ�หนะเหล่�นั้นอยู่ในแนวเดิมเสมอ  ก�รอัดตัวของ
            ดินจะเกิดขึ้นและครอบคลุมพื้นที่น้อยกว่� ดังภ�พที่ 10.3





















                                  Illustrates path of:
                                  Planter, RC cultivator   Sprayer         Tillage
                                  Combine             Anhydrous applicator   Grain cart

            ภ�พที่ 10.2 แถบที่มีคว�มเข้มต่�งกันในภ�พแสดงทิศท�งของก�รเดินรถแทรกเตอร์และรถที่ใช้ในกิจกรรมต่�งๆ
            แบบสุ่ม ได้แก่ รถปลูก (planter) รถติดเครื่องเกี่ยวนวด (combine harvester) รถฉีดพ่นส�รเคมี (sprayer)
            รถใส่ปุ๋ยแอนไฮดรัสแอมโมเนีย  (anhydrous  applicator)  รถเตรียมดิน  (tillage)  และพ�หนะบรรทุกผลผลิต
            (grain cart) ทำ�ให้เกิดก�รอัดตัวของดินครอบคลุมพื้นที่ส่วนม�ก


                                                                สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย     221
   220   221   222   223   224   225   226   227   228   229   230